ขงเบ้งได้เขียนตำราวิ ธีการหยั่งรู้ใจคนไว้ว่า ” อันการหยั่งรู้ ดูอุปนิสัย
ใจคอคนนั้นเป็นเรื่องย ากคนมี ดีแต กต่างกันไป
นิสัยใจคอหาใช่จะสัมพันธ์กับรูปลักษณ์ภายนอก บางคนหน้าซื่อ
แต่ใจกลับคิดคดบางคนสุภาพอ่อนหวานแต่กลับมีจิตใจแข็งกระด้าง
บางคนเกรี้ยวกราดห้าวหาญแต่เมื่อถึงเวลากลับขลาดตาขาว
บางคนดูตรงไปตรงมาแต่กลับกลิ้งกลอกหาความสัตย์มิได้
ใจคนนั้นแม้นจะดูย าก แต่ก็พอมีโอกาสหยั่งถึง หากรู้ถึงวิ ธีอ่ านใจ “
1. มอมเมาด้วยสุ ราพิจารณานิสัย
เมื่อไปในเลี้ยงสังสรรค์ ให้สังเกตดูว่าน้ำเปลี่ยนนิสัยนี้
จะทำให้คน ๆ หนึ่งเปลี่ยนไปเป็นอีกคนได้มากแค่ไหน
เพื่อรู้ถึงอุปนิสัยใจคอในย ามข าดสติ รวมทั้งวินัยในการควบคุมสติตนเอง
2. สรรเสริญด้วยลาภยศ เพื่อดูความสุจริต
ลองให้ตำแหน่ง ลาภยศ ให้ผลประโยชน์มาก ๆ และ ใช้คำสรรเสริญเข้าล่อใจ
เพื่อทดสอบความซื่อสัตย์สุจริต บางคนเมื่อได้เป็นใหญ่มักลำพองใจ และ ไม่ไว้หน้าใคร
3. โต้แย้งให้จนมุม เพื่อดูปฏิภาณ
หาปัญหาต่าง ๆ มาซักไซ้ไล่เลียง ยั่วยุให้เขาโกรธ
เพื่อทดสอบการควบคุมอ ารมณ์ ไหวพริบปฏิภาณ
4. มอบงานให้ทำ เพื่อดูความรับผิดชอบ
มอบหมายงานให้เขาทำ เพื่อทดสอบว่ามีความรับผิดชอบ น่าไว้วางใจ
สามารถทำงานได้ถูกต้อง ครบถ้วนและตรงต่อเวลาหรือไม่ อย่ างไร
5. ซักถามด้วยกลอุบาย เพื่อดูสติปัญญา
ปรึกษาปัญหาเรื่องราวต่าง ๆ กับเขา ให้เขาพูดอะไรออกมา
แล้วสังเกตดู ภูมิความรู้ สติปัญญา และ ความเข้าใจต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
6. แจ้งภัยให้รู้ เพื่อดูความกล้า
แจ้งเขาให้ทราบว่า มีภัยอั นตรายกำลังคืบคลานเข้ามาหาตัว
แล้วสังเกตดูปฏิกิริย า ความกล้าหาญ และ ความอดทน ที่เขาแสดงออกมา
7. ลองใจด้วยความผิดและถูก เพื่อหยั่งรู้คติธรรม
ลองใจด้วยปัญหาธรรม สอบถามประเด็นการบ้านการเมือง
เพื่อทดสอบจุดยืน ความคิดจิตใจ ทัศนคติ รวมทั้งความปรารถนาลึก ๆ ภายในจิตใจ
ขอบคุณที่มา : bitcoretech