“ใช้ชีวิตแบบคนจน แล้วคุณจะไม่มีวันจน”
เป็นคำพูดที่คนสมัยก่อนมักใช้สอนลูกหลาน คนสมัยก่อนจะประหยัดอาจจะเพราะ
เคยผ่ านความลำบากมาก่อน แต่ ที่จริง!
ก็ไม่น่าจะแบ่งว่าเป็นคนสมัยก่อนหรือสมัยนี้ เพราะเป็นเรื่องของปัจจัยบุคคลมากกว่า
เชื่อว่า คนยุคใหม่เองก็มีไม่น้อยที่รู้จักใช้เ งิน แบ่งเงิ นเก็บออมไม่จำเป็นว่า มีมากต้องใช้มาก
เพียงแต่ด้วยความที่โลกเราอยู่ในยุคของทุนนิยมที่เน้นเรื่องของการบริโภคนิยมเป็นที่ตั้ง
ผู้คนเชื่อว่าความสุขจะเกิดขึ้นได้จากการใช้เงิ นไม่ว่าจะเป็นเรื่องกินหรือเที่ยวก็เลยจัดกันเต็ม
(ไม่มีแล้วสำหรับคำว่าลำบากก่อนสบายทีหลัง) เพราะ ต้องการสบาย ตั้งแต่วันนี้เลย
ผู้คนในยุคนี้มีแนวโน้มที่จะใช้จ่ายเ งิน เพื่อ ซื้อความสุขมากกว่าคนในอดีต
นี่เป็น “ความจริง” ที่ทุ กคนก็รู้ดี !เพียงแต่บางครั้งเราต้องเหมือนหยุดคิด หรือ มีเบรกตัวเองไว้บ้าง
การไปอ่ านเจอประโยคที่เป็นข้อคิดหรือคติทำให้เราหยุดหันมาทบทวนพฤติกร รมของตัวเอง
ว่ามีอะไรที่มากหรือน้อยเกินไป แล้วก็ปรับเปลี่ยนเพื่อให้เกิดความสมดุลมากขึ้น
เหมือนอย่ างที่ชาวพุทธยึดเรื่องการเดินทางสายกลางน่าจะเป็นความสุขที่แท้จริง มากกว่า
“บางคนที่ยังเรียกตัวเองว่า ไม่มี หรือ จน อาจจะเถียงว่า”
ไม่ต้องใช้ชีวิตแบบจนก็ถูกบังคับให้ต้องมีชีวิตแบบจน ๆ อยู่แล้วล่ะ ถ้าความคิดเริ่มต้นของคุณเป็นแบบนี้
แสดงว่าคุณไม่รู้ถึงความหมายเบื้องลึก เบื้องหลังของข้อความนี้ นำไปคิดและประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับชีวิต
มีบางคนบอกว่าเห็นคนเก็บขยะ เขากินอาหารถูก ๆ ใส่เสื้อผ้าเก่า ๆ เขาก็ยังคงจนอยู่
ส่วนเจ้าของร้านท องกินอาหารในภัตตาคารใส่เสื้อผ้าหรูราคาแพง ก็เห็นเขาก็ยังร วยอยู่
ถ้าคุณคิดแบบนี้ก็แสดงว่า ข้อความนี้คงไม่มีประโยชน์อะไรที่คุณจะเอาไปคิดต่อได้ ชีวิตคนเรา
จะแต กต่างกันก็อยู่ที่ “ทัศนคติ” ในการมองชีวิต ที่แต กต่างนี้แหล่ะค่ะ
การเปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นมีทัศนคติในเชิงบวกเท่านั้น
ที่จะทำให้เราก้าวข้ามกำแพงที่มีอยู่ในใจของตัวเราเองได้ “ใช้ชีวิตแบบจน แล้วคุณจะไม่มีวันจน”
การใช้ชีวิตแบบคนจนไม่ได้หมายถึง ให้เราต้องไปต กระกำลำบาก กินอาหารราคาถูก
ใส่เสื้อผ้าเก่า ๆ ข าด ๆ แต่หมายถึงเราต้องรู้จักเลือกกิน เลือกใช้
ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่กินทิ้งกินขว้าง หรือมีข้าวของมากมายเกินความจำเป็น
ยกตัวอย่ างง่าย ๆ เช่น
เด็ กที่จนเขาไม่มีสิท ธิ์ เลือกอยู่แล้วจานอาหารที่วางตรงหน้าก็คือ สิ่งที่เขาต้องทาน
แต่เด็ กสมัยใหม่บางคน สั่งอาหารมาทานไม่หมดถึงเวลาก็จะอ้อนสั่งอย่ างอื่นใหม่
หากอย ากสอนลูกด้วยวิ ธีที่ถูกต้อง ก็คือ ต้องทานให้หมดเท่านั้นถึงจะสั่งใหม่ได้ เราต้องรับผิดชอบ
กับอาหารที่เราสั่งมา เด็ กยุคใหม่หลายคนที่นั่งกินข้าวร้านอาหารตามสั่งไม่ได้มีเยอะมากค่ะ
เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ก็เหมือนกัน มีเท่าที่จำเป็นก็พอแต่บางคนกลับมีรองเท้าตั้งหลายสิบคู่
ในคราวเดียวกัน (มันดูจะเยอะเกินไป)
การอยู่ในสังคมบางครั้งเราก็จำเป็นต้องเห็นเพื่อนร่วมงาน คือ คนร่วมสังคมที่มีฐานะแต กต่างกัน
เขาใช้ของแบรนด์เนมราคาแพง “เราไม่จำเป็นต้องไขว่คว้าหาของเหล่านี้”
มาเป็นเจ้าของให้ลำบากเลือกที่จะเป็นและใช้ชีวิในแบบของตัวเองที่เหมาะสม
กับฐานะและรายได้ของเราไม่สร้างห นี้แล้วเราก็จะไม่มีวันจนจริง ๆ ค่ะ
ถึงเราจะไม่ได้มีมากเท่าคนอื่น แต่มั่นใจได้เลยว่าเราจะไม่จนแน่ ๆการใช้ชีวิตแบบพอเพียง หรือ
ในความหมายแบบจน ๆ นี่แหละ.. ที่จะบ่มเพาะกลายเป็นนิสัยที่ติ ดตัวของเราไป เราจะไม่รู้สึกว่าข าดอะไร
แต่เมื่อไหร่ที่เราได้อะไรมาเพิ่ม มันจะเป็นความรู้สึกที่ดีมาก ๆ ตรงกันข้าม ถ้าเราใช้ชีวิตเกิน ๆ อยู่ตลอด
ถึงเวลาที่เราต้องข าด มันจะเป็นความรู้สึกที่ดีได้อย่ างไรเปรียบเทียบง่าย ๆ
ถ้าเรากินอาหารในห้างทุ กมื้อกับเลือกกิน 2 – 3 มื้อต่อสัปดาห์
มื้อไหนที่จะสร้างความสุขและความประทับใจให้เราได้มากกว่ากัน
แถมเงิ นยังเหลือติ ดกระเป๋ามากกว่า อีกด้วยไม่จนกรอบก่อนสิ้นเดือนแน่
ถ้าวางแผนให้ดี ๆ นี่เป็นตัวอย่ างง่าย ๆ “ใครไม่เคยจนมาก่อน ก็คงย ากที่จะรู้ว่าความจนมันน่าก ลัวขนาดไหน”
และนี่เอง ที่เป็นที่มาของสิ่งที่รุ่น พ่อ แม่ ปู่ ย่ า ตา – ย าย เราพย าย ามสอนอยู่เสมอ
แม้ว่าปัจจุบันหลายคนจะต่อสู้จนกลายมาเป็นคนร่ำร วยได้แล้วก็ตาม ให้ลูกหลานรู้จักประหยัด
ไม่ฟุ่มเฟือยเป็นพื้นฐานไว้ก่อน จากนั้นที่สำคัญ คือ ต้องรู้จักคิดเพื่อต่อยอดสร้างความก้าวหน้าขึ้นไปให้ได้
ถ้าเรารู้จักใช้ชีวิตแบบ “คนจน” ในความหมายที่ว่า.. คือให้ใช้จ่ายน้อยกว่า ที่หามาได้
“แบบนี้ไม่มีวันจน” แน่ ๆ แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่ใช้เ งินมากเกินกว่าที่หามาได้ เรียกว่า
ใช้เงิ นแบบคนร วยทั้งที่ไม่ใช่คนร วย คุณก็จะ “อยู่แบบจน ๆ ” แบบนี้ และไม่มีวันเป็นคนร วยกับเขาได้
แม้ว่าเราจะเป็นคนยุคใหม่ที่หันไปทางไหนก็มีแต่เรื่องของบริโภคนิยม แต่อย่ างไรก็ขอให้มีสติ
รู้เท่าทันโลกที่หมุนเวียนเปลี่ยนไป เชื่อสิคะ! ว่าคุณจะไม่มีวันจนค่ะ
ขอบคุณที่มา : chayend