1. มองโอกาสของธุรกิจ ถือว่าสำคัญมาก แม้ว่าเราชอบหรืออ ย า กจะทำอะไร แต่ถ้าทำไปแล้ว
ไม่มีลูกค้า ไม่มีคนซื้อ ก็ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้น การที่คิดจะทำธุรกิจอะไร
ต้องวิเค ราะห์ตลาดและพฤติ ก ร ร ม ผู้บริโภคด้วย ว่าลงทุนวันนี้ แล้วพรุ่งนี้ลูกค้ายังจะซื้อเรา
อีกไหม หรือธุรกิจที่เราชอบในวันนี้ อีก 1- 2 ปีข้างหน้า ยังจะได้รับความนิยมอยู่หรือไม่
เราต้องมองโอกาสของธุรกิจด้วย
2. กำหนดสิ่งที่อ ย า กทำ เมื่อเรา อ ย า ก เป็นเจ้าของธุรกิจ เราต้องค้นหาหรือถามตัวเองว่า
อ ย า กทำอะไร หรือชอบอะไรเป็นพิเศษ ยิ่งถ้าเรารักในสิ่งที่อ ย า กทำด้วยแล้ว ก็จะทำให้ธุรกิจ
ที่จะทำประสบความสำเร็จได้ง่ายขึ้น เพราะเราจะตั้งใจทำอย่ างเต็มความสามารถ
3. วางแผนการตลาดและแผนธุรกิจ การตลาดที่ได้รับความนิยมในวันนี้ คือการใช้ช่องทางสื่อ ส า ร
ผ่ า น ทางออนไลน์ โดยเฉพาะ Social Media ต่างๆ เพราะสาสามารถเจ้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ดีที่สุด
ขณะเดียวกันเราต้องจัดทำแผนธุรกิจ ระบุรายละเอียดต่างๆ ว่าเป้าหมายของธุรกิจคืออะไร
เราต้องทำงานอะไรบ้างให้ประสบความสำเร็จ แผนธุรกิจจะครอบคลุมโครงสร้างส่วนต่างๆ ของธุรกิจ
4. สอบถามลูกค้าเพื่อหาไอเดีย เชื่อมโยงกับข้อ 2 เพราะก่อนจะลงทุนทำธุรกิจอะไรให้ประสบความสำเร็จ
อ ย า กแรกต้องดูเทรนด์ตลาดและความต้องการของผู้บริโภคด้วย
อาจทำแบบสอบถามหรือพูคุยกับลูกค้าในพื้นที่นั้นๆ โดยตรง หรือสอบถามทางช่องทางออนไลน์ก็ได้
ว่าลูกค้าชอบสินค้าหรือบริการที่เราอ ย า กจะทำหรือไม่ เพื่อเป็นการแนวร่วมเดียวกัน ถ้าสอบถามหลายๆ
คนบอกว่าไม่ชอบ เราก็ยังสามารถปรับเปลี่ยนธุรกิจก่อนที่จะลงทุนจริงๆ จังๆ ได้ทันเวลา
5. ประเมินธุรกิจ และปรับเปลี่ยน หลังจากที่เราได้ทดลองเริ่มต้นธุรกิจไปแล้ว พอ ผ่ า น ไปได้ประมาณ
เดือนกว่าๆ ก็ลองมาวิเค ราะห์ธุรกิจดูว่า ผลกาตอบรับจากตลาดและลูกค้าเป็นอย่ างไร
ยอดขายเพิ่มขึ้น ทุ ก วันหรือไม่ หรือคงที่ หรือยอดขาย ต ก เมื่อเราเห็นภาพก็จะสามารถนำไป
ปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที โดยนำเอาข้อเสนอแนะจากลูกค้ามาปรับปรุงให้ตอบโจทย์ลูกค้า จะดีที่สุดครับ
6. เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดเล็กๆ เป็นการทดลองการทำธุรกิจ ว่าจะไปได้หรือไม่ได้ เหมือนเป็นการ
ลองผิดลองถูก ถ้าเจ๊งก็ไม่ต้อง เ สี ย เ งิ น งบประมาณจำนวนมาก
แต่ถ้าไปรอดหรือได้รับการตอบรับที่ดีจากตลาดและลูกค้าก็ค่อยๆ ขยับขย ายธุรกิจให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
ที่สำคัญเหมาะสำหรับช่วงที่เรายังทำงานประจำอยู่ ยังปลีกตัวไปทำเต็มตัวไม่ได้ ต้องทำขนาดเล็กๆ ไปก่อน
7. การหาแหล่งเ งิ นทุน ถ้าเราคิดจะทำธุรกิจ ข า ด เล็ก เราอาจใช้เ งิ นเก็บจากการทำงานประจำมาใช้จ่าย
ช่วง 1- 2 เดือนแรกก่อนก็ได้ ถ้าหากมีเ งิ นเก็บจำนวนมาก แต่ถ้าอ ย า กทำธุรกิจที่มันใหญ่ขึ้น
เพราะมีตลาดและลูกค้ารองรับอยู่แล้ว ก็อาจจำเป็นต้องหาแหล่งเ งิ นทุนที่ปลอดภัย ไม่ว่าจะเป็นการ
ขอสินเชื่อจากสถาบันการเ งิ นต่างๆ รวมถึงแหล่งเ งิ นทุนจากญาติพี่น้อง
8. รวบรวมทีมงาน มาถึงตรงนี้ ถ้าความคิดในการทำธุรกิจของเราจะเป็นไปได้มากที่สุด ผลการตอบรับ
จากช่วงทดลองทำการตลาด ได้รับผลการตอบรับดี ต่อไปเราต้องคิดว่าถ้าเราออกจากงาน
เพื่อมาทำธุรกิจของเราเต็มเวลา เราจำเป็นต้องทีมงาน เพื่อการขย ายธุรกิจให้มีขนาดใหญ่ขึ้นกว่าเดิม
ไม่ว่าจะเป็นทีมงานการตาด การเ งิ น การผลิต การบริการลูกค้า เป็นต้น
9. ลาออกจากงานประจำ เมื่อธุรกิจพร้อมแล้ว ให้ลาออกจากงานประจำวัน เพื่อทำงานของตัวเองอย่ างเต็มที่
แต่อย่ าลืมว่าในการออกมาทำธุรกิจของตัวเองนั้น ในวันข้างหน้าเราอาจจะต้องได้พบเจอกับหัวหน้าเก่า
เจ้านายเก่า หรือเพื่อนร่วมงานเก่าๆ ดังนั้น ก่อนการลาออกต้องบอกเจ้านายและเพื่อนร่วมงานให้ดี
ไม่ บ า ด หมางใจกัน เพราะอนาคตธุรกิจอาจต้องพึ่งพาช่วยเหลือกัน
10. วางโครงสร้างบริษัท ในเวลาเดียวกัน ถ้าเราจะเดินหน้าธุรกิจจริงๆ ต้องมองด้วยว่าจะจัดตั้งบริษัท
ในรูปแบบไหน เช่น บริษัทคนเดียว หรือหุ้นส่วน หรือจัดตั้งเป็นห้างหุ้นส่วน นิติบุคคล เป็นต้น
เพื่อที่จะได้รับการดูแลตาม ก ฎ ห ม า ย อย่ างถูกต้อง
11. ปรับขนาดธุรกิจตามแผนการตลาด สุดท้ายคือ การทำธุรกิจให้เป็นไปตามแผนงานหรือแผนธุรกิจที่เรา
ได้เขียนเอาไว้ตั้งแต่เริ่มต้น ถ้าออกจากงานแล้วธุรกิจไปได้สวย แต่ตอนแรกแผนธุรกิจเขียนเล็กๆ
เราก็ต้องมาปรับขนาดธุรกิจให้เท่ากับแผนการตลาดในปัจจุบัน เช่น ถ้าสินค้าเป็นที่ต้องการของตลาด
ต่างประเทศ เราก็ต้องปรับขนาดธุรกิจให้ใหญ่ขึ้นเพื่อรองรับตลาดต่างประเทศ
เช่น อาจต้องเพิ่มทีมงานด้านต่างประเทศโดยเฉพาะ รวมถึงเพิ่มกำลังการผลิตที่มากขึ้นด้วย
ทั้งหมดเป็นขั้นตอนในการก้าวไปสู่ในการเป็นเจ้าของกิจการ หรือการเป็นนายตัวเอง
ในขณะที่เรายังเป็นลูกจ้างอยู่ ซึ่งถือเป็นแนวทางที่คนส่วนใหญ่นิยมใช้กันมาก เพราะการวางแผน
เป็นเจ้าของธุรกิจตั้งแต่งเรายังทำงานประจำ จะมีความ เ สี่ ย ง น้อยกว่าการลาออกจากงานมาเริ่มต้น
ธุรกิจเลย อย่ างน้อยเราก็มีเ งิ นทุนหมุนเวียนในขณะที่เราเริ่มต้นธุรกิจเล็กๆ อยู่
12. ตั้งงบประมาณในการทำงาน ช่วงเวลาที่เราทำงานประจำ อาจจะไม่สามารถจัดสรรเรื่องงบประมาณ
ในการทำธุรกิจได้อย่ างเต็มที่ แต่เมื่อเราออกจากงานประจำมาบริหารกิจการของเราอย่ างเต็มที่แล้ว
อ ย า กแรกเราต้องบริหารงบประมาณในการทำธุรกิจ แยกออกเป็นแต่ละส่วน ไม่ว่าจะเป็นการผลิต
การตลาด การจำหน่าย การขนส่ง รวมเ งิ นทุนหมุนเวียนในบริษัท เป็นต้น
ที่มา : t h a i s m e s c e n t e r