Home ข้อคิด มีรายได้ไม่แน่นอน จะวางแผนยังไงดี

มีรายได้ไม่แน่นอน จะวางแผนยังไงดี

20 second read
ปิดความเห็น บน มีรายได้ไม่แน่นอน จะวางแผนยังไงดี
0
466

ปัญหาน่าป วดหัวของคนที่ประกอบอาชีพอิสระ มีรายได้ไม่แน่นอน

อย่ างพ่อค้า แม่ค้า เกษตรกร คนขับแท็กซี่ วินมอเตอร์ไซค์รับจ้าง

หรือคนหาเช้ากินค่ำ ฯลฯ

 

ก็คือ บางวันขายดิบขายดี หรือมีลูกค้าใช้บริการเยอะก็รับทรัพย์กันไปถ้วนหน้า

แต่ถ้าวันไหน เดือนไหน หาลูกค้าได้น้อย ยอดขายต ก คนจ้างงานก็ไม่มี

แบบนี้เลยหมุนเงิ นไม่ทัน

 

ต้องไปกู้ห นี้ยืมสินมา กลายเป็นดินพอกหางห มู เกิดปัญหาเงิ นไม่พอใช้

วนไปทุ กเดือนใครเผชิญเหตุการณ์ทำนองนี้อยู่บ่อย ๆ ถึงเวลาต้องมาวาง

แผนการเ งินกันแล้วล่ะ

 

เพราะถ้าเรารู้จักบริหารจัดการรายรับ-รายจ่ายให้ดี ๆ ต่อให้มีรายได้ ไม่แน่นอน

ก็สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ ไม่ต้องไปก่อห นี้ แถมยังมีเงิ นออมด้วย

 

1. ทำรายการค่าใช้จ่ายรายเดือน

อย่ างแรกที่ต้องทำก็คือ เขียนรายการ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เราต้องจ่ายทุ กเดือน

ออกมาเห็นชัด ๆไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายคงที่ ซึ่งต้องจ่ายเท่ากันทุ กเดือน

เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าผ่อนรถ ค่าประกัน ฯลฯ

 

หรือค่าใช้จ่ายผันแปร อย่ างค่าอาหาร ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ

ที่ขึ้นอยู่ กับพฤติกร รมการใช้งานของเรา

 

การลิสต์รายจ่ายต่าง ๆ จะทำให้เราทราบว่าในแต่ละเดือนเราต้องเตรียมเงิ น

ไว้ประมาณเท่าไรซึ่งเมื่อทำงานหาเงิ นมาได้ ก็ต้องแบ่งเงิ นไว้ สำหรับค่าใช้จ่าย

ส่วนนี้ในทุ ก ๆ เดือน

 

2. จดบันทึกรายรับ-รายจ่าย

ข้อนี้ก็สำคัญมาก อีกเหมือนกัน เพราะในเมื่อเรามีรายได้ ไม่แน่นอนเราก็จำเป็น

ต้องรู้ว่าในแต่ละเดือนเรามีรายรับเข้ามาแค่ไหน เพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายใน

แต่ละเดือนที่เราลิสต์ไว้หรือไม่

 

ถ้าเดือนไหนมีรายรับเข้ามามาก ก็สมควรเก็บออมไว้เผื่อใช้จ่ายในเดือนที่รายรับ

เข้ามาน้อย จะทำให้เราบริหารจัดการค่าใช้จ่ายในบ้านได้อย่ างไม่ลำบาก

 

และเมื่อจ่ายเ งินไปแล้วทุ กครั้ง ก็ต้องจดบันทึกไว้ เพื่อสำรวจว่าเดือนนี้

เราเ สียเ งินไปกับค่าใช้จ่ายประเภทไหนมากกว่ากัน ใช้เงิ นฟุ่มเฟือยไปหรือไม่

เมื่อทราบแล้ว จะได้ปรับพฤติกร รมให้ประหยัดขึ้น ลดภาระค่าใช้จ่ายลงได้อีก

 

3. กันเงิ นสำรองไว้ฉุ กเฉิน

หลังจากจดบันทึก รายรับ-รายจ่ายแล้ว ถ้าเดือนไหนมีเงิ นเหลือมาก

อย่ าลืมแบ่งส่วนหนึ่งไว้เพื่อเป็นเงิ นสำรองย ามฉุ กเฉิน

 

ซึ่งโดยปกติเราควรมีเ งินสำรองฉุ กเฉินประมาณ 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายประจำเดือน

เพราะเราไม่มีทางรู้ว่าจะมีเหตุจำเป็นต้องใช้เงิ นก้อนขึ้นมาเมื่อไร

หรือถ้าจะให้ดีที่สุด

 

พอมีรายได้เข้ามาปุ๊บก็ให้แบ่ง มาออมเป็นเงิ นสำรองฉุ กเฉินไว้ก่อนเลย

อย่ างน้อย 10-20% เป็นการสร้างวินัยให้ตัวเองสามารถเก็บเ งินได้จริง ๆ

 

4. ไม่สร้างห นี้ผูกพัน

สมัยนี้มีของล่อตาล่อใจ ให้คนอย ากจับจ่ายใช้สอยกันเยอะแต่สำหรับคนที่มีรายได้

ไม่แน่นอน ขอให้พิจารณาความสามารถในการจ่ายห นี้ของตัวเองก่อน

 

และถ้าเป็นไปได้ไม่ควรสร้างห นี้ระยะย าว เช่น ผ่อนบ้านราคาหลายล้าน นาน 20-30 ปี

แม้บางคนจะบอกว่าตัวเองมีรายได้เป็นกอบเป็นกำ หางานได้เยอะในช่วงนี้

 

แต่อย่ าลืมว่าอนาคตเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน และอาชีพของเรา ก็มีรายได้ไม่คงที่

หากผ่อนไปแล้ว 10 ปี เกิดปัญหาติ ดขัดเ จ็บป่ วยจนทำงานไม่ได้

 

ลูกค้าหด กำไรหายห นี้บ้านก้อนนี้ จะกลายเป็นภาระก้อนใหญ่ที่ทำให้เรา

ป วดข มับแน่นอน

 

5. อย่ าลืมออมเงิ นเพื่อเกษียณ

เรื่องสำคัญที่สุดที่คนมองข้าม ก็คือไม่คิดจะออมเงิ นไว้ใช้ในวัยเกษียณ

ลองคิดดูว่าถ้าวันนี้ร่ างกายเราแข็งแรง หาเงิ นได้มากก็จริง

 

แต่ช้อปปิ้งกระจายใช้ชีวิตแบบหรูหรา ไม่รู้จักเก็บออมไว้บ้างเลย

พออายุเริ่มเข้าสู่เลข 6 ทำงานไม่ไหว จะเอาเงิ นที่ไหนมาใช้เลี้ยงชีพ

 

แต่ถ้าเราเริ่มเก็บเงิ นไว้ตั้งแต่อายุยังน้อย ที่ยังมีแรงทำงานไหว

เ งินสะสมก็อาจมากพอที่จะใช้ในย ามชรา แต่ว่าการเก็บเพื่อวัยเกษียณ

 

ใช้เวลานานหลายสิบปี ดังนั้น ไม่ควรเก็บเงิ นไว้กับตัวเองเฉย ๆ

เพราะผลตอบแทนไม่เพิ่มขึ้น แถมค่าของเ งินยังน้อยลง

 

ไปตามอัตราเงิ นเฟ้ออีกต่างหากจึงควรนำเงิ นไปฝากประจำ กับธนาคาร

เพื่อรับด อกเบี้ยหรือจะออมกับกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ก็ได้

เพราะได้รับเ งินสมทบเพิ่มจากรั ฐบาลสูงสุดถึง 100%

 

และได้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่า ด อกเบี้ยเ งินฝากประจำ 12 เดือนอีก

แบบนี้แหละถึงจะเห็นเงิ นออมของเรางอกเงยขึ้นอย่ างชัดเจน

 

ไม่ว่าจะทำงานประจำหรือประกอบอาชีพอิสระ มีรายได้มากน้อยแค่ไหน

ก็ไม่ใช่ข้อจำกัดของการออมเ งินแต่อย่ างใด

ขอแค่รู้จักบริหารจัดการให้ดี ก็มีชีวิตที่สุขสบายในวัยเกษียณได้

 

ขอบคุณที่มา : yindeeyindee

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …