Home ข้อคิด รายได้ไม่แน่นอน ทำไงให้ ไม่ขัดสน

รายได้ไม่แน่นอน ทำไงให้ ไม่ขัดสน

13 second read
ปิดความเห็น บน รายได้ไม่แน่นอน ทำไงให้ ไม่ขัดสน
0
569

1. ไม่สร้างห นี้ผูกพัน

สมัยนี้มีของล่อตาล่อใจ ให้คนอย ากจับจ่ายใช้สอยกันเยอะ แต่สำหรับคน

ที่มีรายได้ไม่แน่นอนขอให้พิจารณาความสามารถในการจ่ายห นี้ของตัวเองก่อน

และถ้าเป็นไปได้ไม่ควรสร้างห นี้ระยะย าว

 

เช่น ผ่อนบ้านราคาหลายล้าน นาน 20-30 ปี แม้บางคนจะบอกว่าตัวเองมีรายได้

เป็นกอบเป็นกำ หางานได้เยอะในช่วงนี้แต่อย่ าลืมว่าอนาคตเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน

 

และอาชีพของเรา ก็มีรายได้ไม่คงที่ หากผ่อนไปแล้ว 10 ปี เกิดปัญหาติ ดขัด เ จ็ บ ป่ ว ย

จนทำงานไม่ได้ ลูกค้าหด กำไรหาย

 

2. จดบันทึกรายรับ-รายจ่าย

ข้อนี้ก็สำคัญมาก อีกเหมือนกัน เพราะในเมื่อเรามีรายได้ ไม่แน่นอน เราก็จำเป็นต้องรู้ว่า

ในแต่ละเดือนเรามีรายรับเข้ามาแค่ไหนเพียงพอสำหรับค่าใช้จ่ายใน แต่ละเดือนที่เราลิสต์

ไว้หรือไม่ถ้าเดือนไหนมีรายรับเข้ามามาก

 

ก็สมควรเก็บออมไว้ เผื่อใช้จ่ายในเดือนที่รายรับเข้ามาน้อย จะทำให้เราบริหารจัดการค่าใช้จ่าย

ในบ้านได้อย่ างไม่ลำบากและเมื่อจ่ายเงิ นไปแล้วทุ กครั้ง ก็ต้องจดบันทึกไว้ เพื่อสำรวจว่า

เดือนนี้เราเสี ยเงิ นไปกับค่าใช้จ่ายประเภทไหนมากกว่ากัน

 

ใช้เงิ นฟุ่มเฟือยไปหรือไม่ เมื่อทราบแล้ว จะได้ปรับพฤติกร รมให้ประหยัดขึ้น

ลดภาระค่าใช้จ่ายลงได้อีก

 

3. อย่ าลืมออมเ งินเพื่อเกษียณ

เรื่องสำคัญที่สุดที่คนมองข้าม ก็คือไม่คิดจะออมเงิ นไว้ใช้ในวัยเกษียณ ลองคิดดูว่าถ้าวันนี้ ร่ า ง ก า ย

เราแข็งแรงหาเ งินได้มากก็จริง แต่ช้อปปิ้งกระจายใช้ชีวิตแบบหรูหรา ไม่รู้จักเก็บออมไว้บ้างเลย

 

พออายุเริ่มเข้าสู่เลข 6 ทำงานไม่ไหว จะเอาเงิ นที่ไหนมาใช้เลี้ยงชีพ แต่ถ้าเราเริ่มเก็บเงิ นไว้ตั้งแต่

อายุยังน้อยที่ยังมีแรงทำงานไหว เงิ นสะสมก็อาจมากพอที่จะใช้ในย ามชรา

 

แต่ว่าการเก็บเพื่อวัยเกษียณ ใช้เวลานานหลายสิบปี ดังนั้น ไม่ควรเก็บเงิ นไว้กับตัวเองเฉย ๆ

เพราะผลตอบแทนไม่เพิ่มขึ้น แถมค่าของเงิ นยังน้อยลงไปตามอัตราเงิ นเฟ้ออีกต่างหาก

 

4. ทำรายการค่าใช้จ่ายรายเดือน

อย่ างแรกที่ต้องทำก็คือ เขียนรายการ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เราต้องจ่ายทุ กเดือนออกมาเห็นชัด ๆ

ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่ายคงที่ซึ่งต้องจ่ายเท่ากันทุ กเดือน

 

เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าผ่อนรถ ค่าประกัน ฯลฯ หรือค่าใช้จ่ายผันแปร อย่ างค่าอาหาร

ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ฯลฯ

 

5. กันเงิ นสำรองไว้ฉุ กเฉิน

หลังจากจดบันทึก รายรับ-รายจ่ายแล้ว ถ้าเดือนไหนมีเงิ นเหลือมาก

อย่ าลืมแบ่งส่วนหนึ่งไว้เพื่อเป็นเงิ นสำรองย าม ฉุ ก เ ฉิ น

 

ซึ่งโดยปกติเราควรมีเงิ นสำรอง ฉุ ก เ ฉิ น ประมาณ 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายประจำเดือน

เพราะเราไม่มีทางรู้ว่าจะมีเห ตุจำเป็นต้องใช้เงิ นก้อนขึ้นมาเมื่อไร

 

หรือถ้าจะให้ดีที่สุด พอมีรายได้เข้ามาปุ๊บก็ให้แบ่ง มาออมเป็นเงิ นสำรองฉุ ก เ ฉิ น

ไว้ก่อนเลยอย่ างน้อย 10-20% เป็นการสร้างวินัยให้ตัวเองสามารถเก็บเ งินได้จริง ๆ

 

ขอบคุณที่มา : fakhaikid

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …