1. เบี่ยงเบนความคิดของตัวเอง
ฟังดูง่ายๆ แต่ที่จริงการจดจ่อกับสองสิ่งไปพร้อมกันนี่มันย ากนะ
ลองออกกำลังกายหรือเล่นเกมดูเมื่อรู้ตัวว่าตนเองกำลังคิดมาก
เพื่อสร้างสมดุลระหว่างอ ารมณ์และร่ างกาย
ผู้เชี่ยวชาญหลายคนก็เห็นด้วยกับวิ ธีนี้ คือ ให้หากิจก ร ร มที่
เบี่ยงเบนความสนใจของคุณซึ่งควรเป็นกิจก ร ร มที่ใช้ทั้งร่ างกาย
ความคิด และ การร่วมเล่นกับผู้อื่น เช่น เทนนิส หรือการเดิน
เที่ยวกับเพื่อนสักคน
2. กำหนดช่วงเวลาสำหรับ “การหยุดใช้ความคิด”
การกำหนดเวลา “หยุดใช้ความคิด” ช่วยห้ามไม่ให้คุณหมกมุ่นกับปัญหา
อย่ างใดอย่ างหนึ่งมากเกินไปเช่น การไม่คิดเกี่ยวกับเรื่องย ากๆ หลัง
เวลาสองทุ่มเพื่อไม่ให้มันมารบกวนเวลานอนหลับ
มีคำแนะนำว่าให้แบ่งเวลาไว้ประมาณ 20 นาทีต่อวัน สำหรับการสะท้อน
ความคิดของตัวเองภายในยี่สิบนาทีนี้ ปล่อยให้ตัวเองวิต กกังวล ครุ่นคิด
ฟุ้งซ่านได้เต็มที่ตามต้องการ แล้วพอหมดเวลา
ก็ให้เปลี่ยนไปทำสิ่งอื่นที่มีประโยชน์กว่า ถ้าคุณเริ่มคิดมากนอกช่วงเวลา
ที่กำหนดไว้เมื่อไหร่ก็ให้เตื อนตัวเองว่า ค่อยเอาเก็บไปคิดในช่วงเวลา
ที่กำหนดดีกว่า
3. โฟกัสที่สิ่งที่ทำได้ในปัจจุบัน
อีกหนึ่งวิ ธีแก้นิสัยคิดมากก็คือ เลิกคิดแล้วลงมือทำอย่ าไปโฟกัสในสิ่งที่
คุณต้องทำ สิ่งที่ยังไม่ได้ทำ หรือแม้แต่สิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว
แต่ให้พุ่งความสนใจไปในที่สิ่งที่สามารถทำได้ในปัจจุบันก็พอไม่ว่าจะใหญ่
หรือเล็กแค่ไหนก็ตาม แล้วก็ลงมือทำมันซะ แบบนี้ทุ กครั้งที่เรากังวล
ถึงปัญหาในเรื่องใด ๆ เราก็จะสามารถทำให้มันออกมาเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น
4. เขียนความคิดของตัวเอง
อีกวิ ธีนึง ที่จะช่วยหยุดความคิดฟุ้งซ่านของคุณ ก็คือ การระบายให้กับคนที่
มีมุมมองวิ ธีคิดแต กต่างไปจากคุณได้ฟัง หรือ จะใช้วิ ธีเขียนระบาย
ความคิดของตัวลงไปในกระดาษแทนก็ได้เพราะ การเขียนทำให้เราคิดอย่ าง
เป็นระบบขึ้นมาก ถ้าคุณเก็บความคิดเหล่านั้นไว้แต่ในหัว
นอกจากมันจะไปสุมกันจนเป็นภูเขามันยังทำให้คุณวนกลับมาคิดเรื่องเดิมซ้ำ
อยู่อย่ างนั้นไม่จบสิ้น
5. สังเกตความคิดของตัวเอง
ส่วนสำคัญที่สุดของการทำคือ การปล่อยให้ความคิดของคุณลอยผ่ านไป
แทนที่จะไปยึดติ ดอยู่กับมันหรือพย าย ามที่จะหยุดคิดมัน
การฝึกสมาธิแบบเจริญสติเป็นสิ่งที่ช่วยให้คุณหยุดหมกมุ่นกับเรื่องในอดีตได้
โดยให้คุณลองสังเกต การณ์ความคิดของตัวเองดูว่าตัวเองกำลังวิต ก
กังวลอยู่กับเรื่องอะไร และ จะแก้ปัญหาได้อย่ างไร แทนที่จะลงไปหมกมุ่นอยู่กับมัน
ลองนั่งอยู่เฉย ๆ แล้วสังเกตความคิดของตัวเองดู
คุณจะรู้เลยว่าความคิดมันไร้ขอบเขตจริง ๆและเวลาที่คุณพย าย ามทำให้มันนิ่ง
ก็มีแต่จะแ ย่ลงเท่านั้น แต่จิตใจของคุณจะสงบลงเองเมื่อเวลาผ่ านไปสักพัก
และ เมื่อจิตใจของคุณสงบแล้วมันก็จะมีที่ว่างในการรับฟังสิ่งที่ละเอียดอ่อนยิ่งขึ้น
ขอบคุณที่มา : jingjai999