1. ใช้สิ่งที่มีอยู่ได้คุ้มค่า
คนเก่ง ๆ อาจจะไม่ใช่คนที่มีของหรืออุปกรณ์เยอะมากที่สุด
แต่คือคนที่รู้ว่าสิ่งของรอบตัวรวมไปถึง
ทรัพย ากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่าที่สุด ได้อย่ างไร จะทำอย่ างไร
ให้ของที่มีอยู่สามารถรีดเร้น ประสิทธิภาพ
ออกมาได้มากที่สุดหรือสามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้อย่ างไร
ซึ่งมันคงจะดี ถ้าเราเริ่มมองเห็นว่า
ของที่เรามีอยู่นั้น สามารถทำอะไรได้บ้าง
ที่จะเพิ่มประสิทธิ ภาพของตัวเรา
2. ห้อมล้อมด้วยคนเก่ง ๆ ด้วยกัน
สังคมรอบข้างมีส่วนสำคัญกับตัวเรา ไม่มากก็น้อย
(แต่จากประสบการณ์ ของผมนั้น มีมากเลยทีเดียว)
ฉะนั้น ถ้าคุณห้อมล้อมด้วยคนเก่ง ๆ แล้วมันก็เป็นแรงจูงใจ
ให้คุณได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยน กับคนเก่ง ๆ
ด้วยกัน ซึ่งถือเป็นการเรียนรู้ที่ดีพนักงานเก่ง ๆจึงมักจะ
อย ากทำงานในบริษัทที่มีคนเก่ง ๆ เป็นธรรมดา
เพราะนั่นจะมีผลต่อทัศนคติและความคิดของพวกเขานั่นเอง
3. ไม่ตามกระแสจนเกินไป
การเห่อตามกระแสในหลาย ๆ ครั้งจะทำให้คนเราหลุดโฟกัส
ที่ควรจะมีมันจึงจะดีกว่าที่เรารู้ว่าอะไรบ้าง
ที่ควรจะเป็นสิ่งที่ตัวเราควรให้ความสำคัญมากที่สุด การรู้จักกระแส
เป็นเรื่องที่ดีแต่ก็ไม่ได้จำเป็นที่จะต้องกระโจนไป
โดยไม่ได้รู้เท่าทันเพราะหลาย ๆ ที ก็อาจจะเป็นการเสี ยเวลา
โดยใช่เหตุด้วย เหมือนกัน
4. สามารถให้เหตุผลต่าง ๆ ได้
สิ่งที่เราควรเรียนรู้จากคนเก่ง ๆ คือพวกเขาไม่ได้มี แค่ความสามารถ
เพียงอย่ างเดียวแต่พวกเขาสามารถจะอธิบายสิ่งต่าง ๆ
อย่ างเป็นเหตุเป็นผลได้ ส่วนหนึ่งเพราะการเป็นเหตุเป็นผลนี่แหละ
ที่ทำให้กระบวนการคิดของเขา รอบคอบเป็นระบบระเบียบ
จนสามารถสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ได้มากกว่าคนทั่ว ๆ ไป
5.ใช้ชีวิตแบบพอเพียง
คำว่าพอเพียงตรงนี้ไม่ได้แปลว่า ประหยัดหรือ ถึงขั้นอัตคัดหรอกนะ ครับ
เช่นเดียวกันที่คนเก่ง ๆ เหล่านี้
มักมีหน้าที่การงานที่ดี มีฐานะการเ งินสูงกว่าคนทั่ว ๆ ไปด้วยซ้ำ
แต่นั่นก็ไม่ใช่ว่าพวกเขา จะใช้ชีวิตประเภท สุรุ่ยสุร่ายเกินตัว
(ซึ่งมักเป็นสิ่งที่หลาย ๆ คนทำ เมื่อมีฐานะดีขึ้น)
6. ตัดสินใจ อ ย่ า ง ฉลาด และรอบคอบ
ทุ ก ๆ การกระทำจะนำมาสู่ ผลที่ตามมาและคนเก่ง ๆ จะเข้าใจ
เรื่องเหล่านี้อยู่เสมอฉะนั้นพวกเขา จะคิดอย่ างรอบคอบว่า
การกระทำบางอย่ าง จะนำไปสู่อะไร การตัดสินใจ
จะนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดี ซึ่งเมื่อต่อยอดไปเรื่อย ๆ
ก็จะได้รับผลที่ยอดเยี่ยมในที่สุดสิ่งที่เราควรเริ่มทำวันนี้
คือการคิดให้ถี่ถ้วน ถึงสิ่งที่เราต้องตัดสินใจ
ว่ามันถูกหรือผิดคุ้มค่าหรือไม่ และมันจะเป็นประโยชน์
กับเราในอนาคตอย่ างไรนั่นแหละ
7. ไม่ได้จำเป็นต้องสำเร็จเสมอไป
การทำธุรกิจต่าง ๆ เป็นเรื่องที่ย าว และต่อเนื่อง ซึ่งมันไม่ได้วัดกัน
แค่การตัดสินใจเพียงแค่ครั้งสองครั้ง
ซึ่งแน่นอนว่าตลอดเส้นทาง ก็ย่อมมีขึ้นมีลง เป็นธรรมดา
คนเก่ง ๆ เองก็เช่นกันซึ่งนั่น ก็จะเหมือนกับข้อข้างต้น
ว่าพวกเขา ก็มีถูกมีผิด และต้องเรียนรู้กันไป นั่นแหละ
8. พวกเขาคือศัตรูของตัวเอง
สิ่งที่คนเก่ง ๆ มักมีกันคืออีกด้านหนึ่งของพวกเขา ซึ่งถูกมองว่า
เป็นจุดอ่อน บ้างก็เป็นเพราะความสุดขั้ว
ในเรื่องบางเรื่องแต่ก็นั่นแหละที่สิ่งเหล่านี้ ทำให้พวกเขา
เป็นคนสุดขั้วในอีกทางหนึ่งที่ทำให้พวกเขาเก่งเช่นเดียวกัน
(ลองดูกรณี ของสตีฟ จ็อบส์ ก็ได้ครับ)
9. ไม่ได้รู้คำตอบ ทุ ก อ ย่ า ง
คนเก่ง ๆ ไม่ได้เป็นกูรูเสมอไป
(อันที่จริงก็น้อยคนที่จะเป็นกูรูจริง ๆ นั่นแหละ)
และเอาจริง ๆ การที่บอกว่าตัวเอง รู้ไปทุ กอย่ าง
ก็มีแต่จะทำให้ เกิดอีโก้เสี ยเปล่า ๆ
บางทีสิ่งสำคัญกว่า การนั่งโฟกัสว่าคุณรู้อะไรแล้วทำให้คุณ
รู้สึกดี คือการเห็นว่าคุณยังไม่รู้อะไร
เพราะนั่น คือจุดอ่อนของคุณ และก็เป็นโอกาสพัฒนา
ตัวเองของคุณ เช่นกัน
10. เรียนรู้จากความผิ ดพลาด
คนเก่ง ๆ ก็ผิ ดพลาดได้นักธุรกิจหลายคน เคยล้ มเหลวเจ๊ง
หรือ ไม่ก็ถึงขั้นล้ มละลายเป็นห นี้ เป็นสินมากก่อน
แต่เหตุ การณ์เหล่านี้ ได้ให้บทเรียน กับพวกเขาจน
รู้ว่าจะต้องทำอย่ างไร ในอนาคต เพื่อแก้ไข
หรือฉกฉวยโอกาสที่พวกเขาเห็นจากความผิ ดพลาด และนั่น
เป็นสิ่งที่เราควรจะทำตามเช่นกัน
ขอบคุณที่มา : pankanan