1. เรื่องเ งิน บางทีมันก็เป็นการแบ่งรับแบ่งสู้เรื่องของใจ
การที่นายจ้างให้เงิ นน้อย บางทีก็ไม่ได้หมายความว่า
ครั้งต่อไปจะไม่ได้เ งินเพิ่มการที่ลูกค้าจ้างงานในราคาถูก
บางทีเขาก็เห็นแ ก่เราที่ไม่มีประสบการณ์มาก่อนหรือมีงบจำกัดจริง ๆ
การทำงานไม่ว่าจะสายงานไหนก็ตาม มันต้องใช้ใจแลกใจ
เราเป็นฝ่ายร้องขออย่ างเดียวไม่ได้เงิ นจ้างทำให้เราอิ่มท้อง
แต่การทำงานต้องใช้ความอิ่มใจ เรายิ้มคนเดียวยังไงก็ไม่ดีเท่าทำให้
คนอื่นยิ้ม ทุ กคนควรมีความสุขกับงานที่เราทำให้
2. ถ้าเราทำงานแล้วรู้สึกสนุก เงิ นเดือนจะเป็นเรื่องรองลงมาทันที
เงิ นเดือนน้อยไม่ใช่สาเหตุสำคัญที่ทำให้พนักงานลาออก คนอาชีพอิสระ
ไม่กล้ารับงานเพราะที่สุดแล้ว งานนั้นจะคุ้มหรือไม่คุ้ม ต้องมีอ ารมณ์ร่วม
ไปกับมันด้วย
คนที่ลาออกจากงานส่วนใหญ่จึงมักจะมีเหตุผลอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับเ งิน เช่น
ที่ทำงานไม่ปลอดภัย, คนจ้างงานสั่งงานนอกสเปค, เกิดความไม่เป็นธรรม
ในที่ทำงาน
3. บางตำแหน่งงาน ดูเหมือนจะหนักไม่คุ้มเงิ นจ้าง แต่เ นื้องานมันให้อะไรมากกว่าที่คิด
นิสัยเสี ยอย่ างหนึ่งที่ทำให้คนเราพลาดโอกาสดี ๆ ไปก็คือ
“การมองอะไรที่ไม่ทะลุปรุโปร่ง ข าดความเฉียบแหลม”
จึงไม่แปลกใจสักเท่าไหร่ หากจะพบว่าคนที่หางานทำส่วนใหญ่
จะมองที่เงิ นเดือนก่อนเป็นอันดับแรก
แล้วค่อยมองที่ขอบเขต การทำงาน ว่าต้องทำอะไรบ้าง เจออะไรบ้าง
(บางคนเลือกที่จะไม่มองขอบเขตงานเลยด้วยซ้ำ)
4. การเริ่มที่เงิ นน้อย มันคือเครดิตติ ดตัวเราอย่ างหนึ่ง
ทำงานอย่ างตั้งใจและจริงใจ ทั้งที่เงื่อนไขจำกัด เป็นใครก็อย ากจ้างเรา เผลอ ๆ
อาจเพิ่มค่าจ้างเพราะเห็นแ ก่ความอดทน พย าย าม และความอ่อนน้อมถ่อมตนด้วยซ้ำไป
หรือไม่ก็บอกต่อคนอื่นปากต่อปาก ทำให้เราเกิดลูกค้ามากขึ้น ขย ายคอนเนคชั่นมากขึ้น
นี่แหละบันไดพื้นฐานสู่การเป็นเศรษฐีที่หลายคนมองข้าม
ขอบคุณที่มา : aansanook