1. เก็บเงิ นตามวันที่
วิ ธีนี้ ให้เอาวันที่เป็นตัวตั้ง หมายความว่า วันที่ 1 ให้เก็บเ งิน 1 บาท วันที่ 2 เก็บ 2 บาท
หยอดกระปุกไปเรื่อย ๆจนถึงวันที่ 31 เก็บ 31 บาท
พอขึ้นเดือนใหม่ ก็เริ่มเก็บ 1 บาทใหม่ตามวันที่นั้น ๆทำแบบนี้ ไปทุ กเดือน ๆ รวมทั้งปี
เราจะมีเงิ นเก็บทั้งหมด 5,738 บาท
หรือถ้าใครจะเก็บเงิ นวันที่ 1 เป็น 10 บาท วันที่ 31 เป็น 310 บาท ก็ได้
รวมทั้งปีเราจะมีเงิ นเก็บถึง 57,380 บาทเอาไปซื้ อท องได้เลยทันทีถึง 2 บาท
2. เก็บเงิ นทุ กวันเงิ นเดือนออก
วิ ธีนี้ให้เอาวันที่เราได้รับเงิ นเดือน เป็นตัวตั้ง พอเงิ นเดือนออกปุ๊บ ก็ให้เก็บก่อนเลย 20%
ของเงิ นเดือนถือเป็นการเก็บเงิ นก่อนใช้ สมมติได้เ งินเดือน 15,000 บาท ก็เก็บ 3,000 บาท
ทำแบบนี้ทุ กเดือน ๆ ถึงสิ้นปี เราจะมีเงิ นเก็บ 36,000 บาท
3. เก็บแบงก์ 50
วิ ธีนี้ให้เรามุ่ง ความสนใจไปที่แบงก์ 50 เพราะเป็นแบงก์ที่เรามักไม่ค่อย จะได้เจอสักเท่าไร
ในชีวิตประจำวันเวลาใช้จ่ายแล้วได้รับเงิ นทอน มาเป็นแบงก์ 50 เมื่อไร
ไม่ว่าจะเป็นแบงก์เก่าหรือใหม่ก็ตาม ให้เก็บไว้เลยทันทีทำแบบนี้ทุ กครั้งที่ได้รับเงิ นทอน
สมมติใน 1 สัปดาห์เก็บแบงก์ 50 ได้เฉลี่ย 2 ใบ โดย 1 ปีมี 52 สัปดาห์
เท่ากับว่าปีนี้เราเก็บแบงก์ 50 ได้ทั้งหมด 104 ใบ ก็จะมีเงิ นเก็บ 5,200 บาท
4. เก็บเศษของเงิ นเดือน
วิ ธีนี้ให้เอาเศษของ เงิ นเดือนเป็นตัวตั้ง สำหรับคนที่เงิ นเดือนมีเศษ เช่น 20,580 บาท
ก็ให้เก็บเศษ 580 บาทหากใคร มีเศษน้อยหน่อย เช่น 21,100 บาท
ก็อาจจะเก็บ 1,100 บาทเลยก็ได้ลองปรับดูตามความเหมาะสมแล้วเก็บแบบนี้ไปทุ กเดือน ๆ
เศษเงิ นเดือนที่ว่าเล็กก็สามารถกลายเป็นเงิ นก้อนใหญ่ได้ไม่ย าก
5. ใช้เท่าไร เก็บเท่านั้น
วิ ธีนี้ให้เอารายจ่าย ฟุ่มเฟือยในแต่ละวันเป็นตัวตั้ง เช่น วันนี้ซื้ อเสื้อไป 250 บาท
ก็ให้เก็บ 250 บาทเท่ากับจำนวนเงิ นที่ใช้ไป ยิ่งเราใช้เงิ นฟุ่มเฟือยมาก
ก็ยิ่งต้องเก็บมากถือเป็น การเก็บเงิ นหลังใช้และเป็นวิ ธีที่เหมาะกับคน ที่ค่อนข้างใช้เงิ นเก่ง
เพราะยิ่งเราใช้เยอะ เราก็ต้องมีวินัยในการเก็บเงิ นให้เยอะขึ้นด้วยนั่นเอง
ขอบคุณที่มา : jingjai999