Home ข้อคิด เ ด็ ก จะเก่งหรือไม่ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับโรงเรียน

เ ด็ ก จะเก่งหรือไม่ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับโรงเรียน

28 second read
ปิดความเห็น บน เ ด็ ก จะเก่งหรือไม่ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับโรงเรียน
0
601

สิ่งทำให้สำเร็จในการเรียน ไม่ได้ขึ้นอยู่กับโรงเรียน แต่เป็นความเอาใจใส่ของพ่อแม่มากกว่า

สมัยนี้ พ่อแม่หาโรงเรียนดี ๆ ให้ลูก หรือว่าหาโรงเรียนที่เพื่อนมีฐานะเดียวกันให้กับลูก

 

เห็นค่าเทอมของโรงเรียนเด็ กอนุบาล ประถม สมัยนี้แล้ว แพงกว่าของมหาวิทย าลัยเอกชน

อีกครับคิดเห็นอย่ างไรกับบ้างครับที่ว่า สมัยนี้พ่อแม่หาโรงเรียนคิดว่า

 

ดูจากค่าเทอม การเรียนการสอนความสะดวกในการรับส่งสังคมของเพื่อน ๆ ลูก ฯลฯ

แต่ผมคิดว่าสมัยนี้พ่อแม่ไม่ได้เลือกโรงเรียนแต่เลือกสังคมในโรงเรียนมากกว่าครับ

ท่านอื่น ๆ

 

คิดกับอย่ างไรบ้างครับ

ปฏิเสธไม่ได้ว่า มีความเชื่อเกี่ยวกับการเลือกโรงเรียนให้กับลูกอยู่ในห มู่พ่อแม่พอสมควร

นั่นก็คือ ความเชื่อที่ว่าการพย าย ามเฟ้นหาโรงเรียนที่ดี (มีชื่อเสี ยง เป็นโรงเรียนเก่าแ ก่

 

มีอุปกรณ์ด้านการเรียนการสอนครบครัน มีครูที่เก่ง มีโอกาสในการสอบเข้าสถาบันดัง ๆ สูง ฯลฯ)

นั้นอาจเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือการันตีความสำเร็จในอนาคตของลูก ๆ

 

แต่นั่นอาจไม่สำคัญอีกต่อไปเพราะมีการศึกษาวิจัยที่ชี้ให้เห็นว่า การอบรมสั่งสอน เลี้ยงดูเด็ ก ๆ

อย่ างดีจากพ่อแม่นั้น“สำคัญ” กว่าการได้เข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ เสี ยอีก

 

คำกล่าวดังกล่าวมาจากงานวิจัยของนักวิจัยแดนอินทรี ที่เผยว่า การที่เด็ กจะประสบความสำเร็จ

ในการเรียนได้นั้น พ่อแม่มีส่วนสำคัญอย่ างมาก และพบว่า เด็ ก

 

ที่พ่อแม่คอยมีส่วนร่วมในการทำการบ้านให้กำลังใจ กระตุ้นให้ลูกเห็นความสำคัญของการศึกษา

รวมถึงเข้าร่วมกิจกร รมต่าง ๆ กับทางโรงเรียนนั้นมักจะเป็นเด็ กที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง

 

โดยการศึกษานี้จัดทำขึ้นในสหรัฐอเมริกา โดยเป็นการวิเคร าะห์ข้อมูลของเด็ กวัย

ทีนราว 10,585 คนจากโรงเรียนมัธยมประมาณพันแห่งในรัฐต่าง ๆ

 

นักวิจัยพบว่า ครอบครัวที่มีการจำกัดเวลาการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (ไม่เฉพาะแค่ทีวี

ปัจจุบันมีหน้าจอแสดงผลจำนวนมากที่มีความเกี่ยวพันต่อชีวิตประจำวันของเด็ ก

 

เช่น หน้าจอคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นเกม โทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่นเกมแบบพกพา แท็บเล็ต ฯลฯ)

นั้นมีผลดีต่อสุ ขภาพของเด็ กอย่ างเห็นได้ชัด

 

ดร. Aric Sigma เผยว่า โดยเฉลี่ยแล้ว ที่บ้านของเด็ กอายุ 10 ปีจะมีเครื่องเล่นต่าง ๆ

ที่พร้อมจะดึงดูดความสนใจจากเด็ กอย่ างน้อย 5 ชิ้น เปรียบได้กับพี่เลี้ยงอิเล็กทรอนิกส์

ที่พ่อแม่ส่งมาให้กับลูก

 

เพื่อให้พวกเขาไม่กวน หรือร้องโยเย แต่ยิ่งมีอุปกรณ์เหล่านั้นมากเท่าใด

ปัญหาสุ ขภาพของลูกก็พบได้มากเท่านั้น

 

“เด็ กในปัจจุบันมีความเสี่ ยงในการเกิดโ รคอ้วน เบาหวาน (ชนิดที่ 2) และ

โร ค ห ล อ ด เ ลื อ ดหัวใจมากขึ้น นอกจากนั้น การใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านี้โดย

ไม่บันยะบันยังยังส่งผลต่อสุ ขภาพจิต และทักษะการเข้าสังคมของเด็ กด้วย”

 

ด้านนักวิจัยจากนอร์ธแคโรไลนา ดร. Toby Parcel ก็ได้เปิดผลการสำรวจที่น่าสนใจไม่แพ้กัน

โดยพบว่าการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ในการเรียนของเด็ กก็มีความสำคัญ ยกตัวอย่ างเช่น

 

การตรวจสอบการบ้านของลูกเป็นประจำทุ กวัน มีการพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องที่ลูกเรียนในแต่ละวัน

อย่ างสม่ำเสมออีกยังเข้าร่วมกิจกร รมที่โรงเรียนจัดขึ้นกับลูก ๆ ไม่เคยข าด ฯลฯ

 

เพราะการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ดังที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นเป็นตัวช่วยสำคัญที่จะทำให้พ่อแม่

ทราบความคืบหน้าในการศึกษาเล่าเรียนของลูกนั่นเอง

 

ดร. Toby ยังพบว่า เด็ กที่ได้เรียนในโรงเรียนที่ดี มีสภาพแวดล้อมดี ๆ แต่พ่อแม่ไม่สนใจนั้น

ยังทำคะแนนได้น้อยกว่าเด็ กที่เรียนในโรงเรียนธรรมดา (ชื่อชั้นด้อยกว่าโรงเรียนกลุ่มแรก)

 

แต่พ่อแม่มีส่วนร่วมในการเรียนของลูก โดยอ้างอิงจากคะแนนของเด็ กวัยรุ่นจำนวนหนึ่ง

ที่เรียนในโรงเรียนที่อาจจะไม่ได้มีคุณภาพมากเท่ากับโรงเรียนชั้นนำ

 

แต่เด็ กกลุ่มนี้มีพ่อแม่ที่สนใจในการเรียนของลูกและพบว่า พวกเขาสามารถทำคะแนนสอบ

ได้สูงกว่าเด็ กที่เรียนในโรงเรียนชั้นนำแต่พ่อแม่ไม่เอาใจใส่ในการเรียนเสี ยอีก

(ผลการศึกษานี้ได้รับการตีพิมพ์ในthe journal Research and Social Stratification and Mobility)

 

ดร.Toby Parcel เจ้าของงานวิจัย เผยว่า

“โรงเรียนและพ่อแม่ล้วนมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของเด็ ก แต่การมีส่วนร่วม

ของครอบครัวนั้นพบว่าสำคัญกว่า และนำไปสู่การประสบความสำเร็จในการเรียนได้มากกว่า”

 

บางทีการแก้ไขปัญหาด้านการศึกษาอาจไม่ใช่การแก้ที่ระบบการเรียนการสอนแต่เพียงอย่ างเดียว

เหมือนที่หลายคนเข้าใจ แต่อาจต้องแก้ “ภาพรวม”

 

ทั้งหมดในการจัดระบบการเรียนการสอนก็เป็นได้และนั่นอาจต้องเริ่มให้คนเป็นพ่อแม่มีความเข้าใจ

และหันมาร่วมมือพัฒนาการศึกษาของลูก ๆ ให้มากขึ้นนั่นเอง

 

“การศึกษาของเราชี้ให้เห็นว่า พ่อแม่ควรตระหนักในความสำคัญของตนเองให้มากขึ้นว่า

สามารถช่วยให้ผลการเรียนของลูกดีขึ้นได้ และควรทุ่มเทเวลาให้กับลูก ๆ

 

ด้วยการหมั่นตรวจสอบการบ้านของลูกเข้าร่วมกิจกร รมของโรงเรียน และการอบรมให้ลูกทราบถึง

ความสำคัญของการศึกษา” ดร. Toby กล่าวทิ้งท้าย

 

ขอบคุณที่มา : kubkhao

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …