1. เก็บ “เหรียญสิบ” ตามเลขวัน
วันที่ 1 ให้หยอดเหรียญสิบ 1 เหรียญ วันที่ 2 หยอด 2 เหรียญ …วันที่ 10
หยอด 10 เหรียญ หรือจะเปลี่ยน เป็นหยอด “แบงก์ร้อย”
แทนก็ได้ ทำอย่ างนี้ไปเรื่อย ๆจนวันที่ 30 ก็หยอดไปเลย 30 เหรียญ
หรือใส่กระปุกไป 300 บาทพอสิ้นเดือน คุณก็จะมีเ งินเก็บ 4,650 บาท
ในเดือนที่มี 30 วัน และ 4,960 บาท สำหรับเดือนที่มี 31 วัน แล้วพอสิ้นปี
คุณจะมีเ งินเก็บอย่ างน้อย 55,800 บาท
2. หัก 10% ลด 10%
หลักการข้อนี้ ฟังดูเหมือนง่าย แต่ปฏิบัติจริงย ากมาก ต้องอาศัยวินัยขั้นสูง!!!
เหมาะสำหรับคนที่ชอบความท้าทายและมุ่งมั่นตั้งใจ ที่จะลดค่าใช้จ่ายและเก็บ
เงิ นอย่ างจริงจัง สำหรับหลักการคือ “หัก 10%”
คือทุ กครั้งที่มีรายรับเข้ามา ให้หัก 10% ของเ งินก้อนนั้น เก็บใส่กระปุกหรือบัญชี
ส่วน “ลด 10%” คือ ให้ลดค่าใช้จ่ายอย่ างน้อย 10% ทุ กครั้งที่จะจ่าย
เช่น เคยซื้อเสื้อผ้าครั้งละ 2,000 บาท
ก็ลดเหลือ 1,800 บาท หรือเคยซื้อกาแฟใส่ทอปปิ้ง ต่าง ๆ จนราคาแก้วละ 150 บาท
ให้ลดทอปปิ้ง 1 อย่ าง ประหยัดได้ 15 บาท แล้วนำเงิ นที่ลดได้ทั้งหมดไป
สมทบกับเ งินเก็บก้อนแรก
วิ ธีนี้ พอสิ้นเดือนที่คุณนำเงิ นเก็บก้อนโต ออกมานับ นอกจากจะปลื้มใจ
กับเงิ นที่เก็บได้ คุณยังจะภูมิใจกับค่าใช้จ่ายที่คุณลดลงได้ด้วย
3. เก็บ “แบงก์ 50 บาท”
ทุ กใบที่ได้รับ หรือเก็บทุ กแบงก์ที่ลงท้ายด้วยเลขท้ายของวันเกิด
วิ ธีนี้ไม่มีอะไรซับซ้อน ต้องอาศัยโ ชคและความซื่อสัตย์ ต่อตนเองเท่านั้น ทั้งในเรื่อง
ของการเก็บและการไม่แอบเอาออกมาใช้! จากการสำรวจคนรอบตัว ที่ใช้วิ ธีนี้พบว่า
พอตั้งปณิธานว่าจะเก็บ “แบงก์ 50” เท่านั้นแหละ ก็มักจะได้แบงก์ 50 มาบ่อย ๆ
หลายคนพอสิ้นปีถึงกับต กใจ เพราะเก็บได้มากถึง 400-600 ใบ
หรือประมาณ 20,000-30,000 บาทเลยทีเดียว แต่สำหรับคนที่เทพเจ้าแห่ง
การออมไม่เข้าข้าง ก็อาจจะตั้งปณิธานเป็น
“เก็บทุ กแบงก์ที่ลงท้ายด้วยเลขท้ายของวันเกิด”
เช่น เกิดวันที่ 25 ก็เก็บทุ กแบงก์ที่ลงท้าย ด้วย 5 ไม่ว่าจะเป็นแบงก์ 20 แบงก์ 500
หรือแบงก์ 1,000 (ยกเว้น เป็นแบงก์ 1,000 บาทสุดท้ายของเดือน ก็อาจอนุโลมให้ได้)
วิ ธีนี้จะบอกได้ย ากว่า ณ สิ้นเดือนหรือสิ้นปี คุณจะเก็บได้เท่าไร
เพราะขึ้นอยู่กับโ ชคชะตา และความซื่อสัตย์ของคุณล้วน ๆ
4. SIX Jars หรือ “6 กระปุกห มูสู่ฝัน”
วิ ธีนี้ เหมาะมากสำหรับมนุษย์เ งินเดือน โดยเฉพาะคนที่อย ากเริ่มต้นเป็นนักวางแผนการเ งิน
เพราะต้องอาศัยการทำการบ้าน อย่ างหนักในการออกแบบ 6 กระปุกว่าจะประกอบด้วย
“เป้าหมายการใช้เงิ น” อะไรบ้าง และในสัดส่วนเท่าไรที่จะเหมาะสม
พื้นฐานสำหรับคนที่อย ากเริ่มต้นเก็บเ งิน แต่ยังไม่รู้ว่าจะออกแบบ 6
กระปุกอย่ างไร โดยประกอบด้วย
กระปุกที่ 1 Living Expenses
หรือกระปุกค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน โดยให้หักเก็บไว้ก่อน
ตั้งแต่เ งินเดือนออก หลังจากนั้นค่าใช้จ่ายประจำเดือนให้ใช้เงิ น
จากในกระปุกนี้เท่านั้น
สำหรับสัดส่วนที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับความจำเป็นในการใช้และความสามารถ
ในการประหยัดของแต่ละคน ซึ่งค่าเฉลี่ยที่เหมาะสมอาจจะอยู่ระหว่าง 50-55%
กระปุกที่ 2 Retirement
หรือกระปุกเพื่อวัยเกษียณ ถือเป็นเงิ นออมระยะย าวโดยสัดส่วนที่เหมาะสม
ก็ขึ้นกับจำนวนเป้าหมาย ที่ต้องมีหลังเกษียณ และระยะเวลาทำงานที่ยังเหลือ
แต่ถ้าไม่อย ากคิดมากและไม่ลำบากเกินไป ก็อาจจะหักไว้ 10% ของเงิ นเดือน
คำแนะนำพิเศษ สำหรับเงิ นก้อนนี้คือ
แทนที่จะนำเ งินก้อนนี้ไปใส่กระปุกจริง ๆ อาจเปลี่ยนไปซื้อ RMF, SSF
หรือกองทุนรวม อื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่ดีกว่า
กระปุกที่ 3 Big Goal
หรือกระปุกสานฝันใหญ่ ถือเป็นกระปุก ที่ต้องมีการวางแผนระยะย าว
เพราะฝันใหญ่มักใช้เ งินเยอะ เช่น ไปเที่ยวต่างประเทศ หรือซื้อรถ เป็นต้น
สำหรับสัดส่วนก็ขึ้นอยู่กับค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้น กับระยะเวลาในการเก็บเ งิน
แต่ถ้าคุณยังไม่มีฝันใหญ่ เป็นชิ้นเป็นอันก็อาจจะเลือกเก็บไปเรื่อย ๆ
ที่สัดส่วน 10-15%…ข้อดีของกระปุกนี้คือ จะทำให้เราทำตามความฝัน
โดยไม่ต้องเป็นห นี้
กระปุกที่ 4 Have Fun
หรือกระปุกเพื่อสันทนาการและปรนเปรอตนเองเรียกว่าเป็นกระปุก
“แก้เซ็ง” ก็ว่าได้ เอาไว้จ่ายเพื่อสนองความอย าก
หรือให้รางวัลตัวเองเล็ก ๆ น้อย ๆเช่น ซื้อเสื้อผ้า, ไปกินดื่มกับเพื่อนฝูง ฯลฯ
หรือค่าใช้จ่ายเพื่อความสุขส่วนตัว ที่อยู่นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน
กระปุกที่ 5 Life-long Learning
หรือกระปุกเพื่อพัฒนาตนเอง เพราะยุคนี้เป็นยุคที่คนทำงาน อย่ างเราต้อง
อยู่ร่วมกับเทคโนโลยีและ AI ให้ได้จึงต้องมีการ Reskill – Upskill ตลอดเวลา
ดังนั้น ค่าใช้จ่ายตรงนี้ อาจหมายถึงการซื้อหนังสือ ซื้อคอร์สหรือไป Workshop ต่าง ๆ
โดยสัดส่วนจะเป็นเท่าไร ก็แล้วแต่ความชอบของแต่ละคน
กระปุกที่ 6 Charity
หรือกระปุกออมบุญ เอาไว้สำหรับบ ริจาคหรือใช้กิจกร รมทำบุญต่าง ๆ นานา
หรือบางคนอาจเปลี่ยนชื่อกระปุกนี้เป็น Sharing แล้วเก็บเงิ นไว้สำหรับเอาไป
ให้พ่อแม่แทนก็ได้
ต้องย้ำว่า ทั้ง 6 กระปุกที่ยกมาเป็นเพียงไอเดียตัวอย่ าง ในการวางแผนการเ งิน
ในแต่ละเดือนซึ่งบางกระปุกสำหรับบางคนอาจไม่จำเป็น หรือบางคนอาจอย าก
มีมากกว่า 6 กระปุก
ก็สามารถทำได้โดยไปปรับสัดส่วนของแต่ละกระปุกตามความเหมาะสม
โดยหนึ่งในกระปุกที่ควรมีเพิ่ม เช่น “กระปุกย ามฉุ กเฉิน” ไว้สำหรับเป็น
ค่าใช้จ่ายฉุ กเฉิน
เช่น เข้าโรงพย าบาล หรือมีกระปุกเพิ่ม เช่น “กระปุกเพื่อจ่ายประกัน”
เป็นต้น หลักปฏิบัติสำคัญสำหรับข้อนี้คือ
(1.) อย่ าใช้เ งินในกระปุกผิดวัตถุประสงค์ และ
(2.) ควรออกแบบกระปุกและสัดส่วนให้เรียบร้อย
แล้วทำให้ได้ตามนั้น อย่ าเพิ่มหรือลดสัดส่วน และกระปุกไปมาระหว่างปฏิบัติ
โดยอาจกำหนดให้สามารถทบทวนสัดส่วนหรือเป้าหมายของแต่ละกระปุก 3-6 เดือนครั้ง
5. ลด-ละ-เลิก
จริง ๆ แล้ววิ ธีนี้ ถือเป็นเครื่องมือ ที่จะช่วยให้กำลังใจตัวเองในการทำตามปณิธาน
หรือ New Year Resolution ข้ออื่นให้สำเร็จ เช่น ลด-ชาไข่มุกวันละ 1 แก้ว,
ละ- ชาบู อาทิตย์ 1 ครั้ง
และ เลิก-ซื้อห วย/ลอตเตอรี่ หรือเลิกบุ หรี่ จากนั้นก็ให้นำเ งินที่ได้จากการ
ลด-ละ-เลิก มาเก็บใส่กระปุก พอครบเดือน ลองออกมานับ จำนวนเงิ น
เก็บที่นับได้จะกลายเป็นกำลังใจ ในการ ลด-ละ-เลิก
ซึ่งจะช่วยให้คนที่ตั้ง New Year Resolution ว่า “ปีนี้ ฉันจะผอม” “ปีนี้ ฉันจะสุ ขภาพดี”
เป็นจริงเร็วขึ้นด้วย
ขอบคุณที่มา : profession-j55