1. ทบทวนเป้าหมายเป็นประจำ
เพื่อให้เรารู้ตัวว่า เราต้องเก็บเงิ นให้ได้ ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้และเหลือเ งิน
ที่ต้องเก็บเพิ่ม อีกเท่าไหร่ หรือถ้าคำนวณแล้วไม่พอ
จะต้องวางแผนใหม่อย่ างไร ถึงจะทำให้เงิ นออมถึงเป้าที่ตั้งไว้ เพราะหากมีเ งิน
ไม่พอ ไว้ใช้จ่ายอาจจะทำให้ชีวิต วัยเกษียณของเรานั้นไม่มีความสุข
2. เริ่มออมเ งินโดยทำบัญชีรายรับรายจ่ายอย่ างสม่ำเสมอ
ออมเงิ นให้ได้ทุ ก ๆ เดือน และต้องทำอย่ างต่อเนื่อง เพราะหากไม่ทำ
ในส่วนนี้ก็จะไม่รู้เลยว่า เ งินส่วนไหน
ที่เราควรจะเก็บเพิ่ม หรือเงิ นส่วนไหนที่เราควรลดการใช้จ่ายลง
เพราะฉะนั้น ต้องมีวินัยในการออมเงิ น
3. จัดการพอร์ต การลงทุนที่เหมาะสม
และกระจายความเ สี่ยง ไปลงทุนกับสินทรัพย์ต่าง ๆ เพราะจะทำ
ให้ได้มูลค่า ของเ งินเพิ่มขึ้น และถ้าเราไม่มีความรู้ เกี่ยวกับการลงทุนต่าง ๆ
ก็ต้องหาข้อมูลมาอ่ าน และศึกษาเอาไว้บ้าง ทางออกที่ดีอีกทางหนึ่ง
ก็คือการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ ด้านการเ งินโดยตรง
จะทำให้เราสามารถวางแผนการเ งิน และจัดการชีวิตหลังเกษียณ
ได้อย่ างสำเร็จตามเป้าหมายนั่นเอง
4. กำจัดห นี้สินลดห นี้สินที่ไม่จำเป็น
เพื่อความสบายในตอนแ ก่ เริ่มจากลดการรูดบัตรเครดิต เลิกซื้อ
ของที่ไม่จำเป็น รวมไปถึงการเที่ยวต่างประเทศ
จากที่เคยเที่ยวทุ กปีก็ลดเหลือปีเว้นปี และนำเงิ นในส่วนนี้มาเก็บไว้
เป็นเงิ นเกษียณ ค่อย ๆ เก็บทีละเล็กละน้อย
ก็รวมเป็นเงิ นก้อน ให้เราได้ใช้จ่ายในย ามเกษียณได้
5. จัดสรรปันส่วนเงิ นสำหรับค่าใช้จ่ายส่วนตัว
ขั้นแรก ต้องคิดก่อนว่า อย ากมีเงิ นไว้ใช้เดือนละเท่าไหร่ไม่ว่าจะเป็น
เรื่องอาหาร ข้าวของเครื่องใช้ หรือการท่องเที่ยว
ที่สำคัญอย่ าลืมนึกถึง เรื่องสุ ขภาพด้วยซึ่งวิ ธีคิด เพื่อออมเ งินคร่าว ๆ
เช่น นายเอตั้งใจจะเกษียณอายุ เมื่อครบ 55 ปี และคาดการณ์ว่า
จะใช้ชีวิตจนถึง 75 ปี ซึ่งมีเงิ นใช้หลังเกษียณ ในแต่ละเดือน
จำนวน 20,000 บาท คิดเป็นรายปี จำนวน 240,000 บาท
ดังนั้นนายเอจะต้องมีเงิ นทั้งหมดหลังเกษียณ เท่ากับ 240,000×20
คิดเป็นเงิ นทั้งหมด 4,800,000 บาทนั่นเอง แต่อย่ าลืมว่า
ในอนาคต จะมีเรื่องของเงิ นเฟ้อเข้ามาเกี่ยวข้อง
เพราะฉะนั้นจะต้องเตรียมเ งินมากขึ้นไปอีก
ขอบคุณที่มา : yakrookaset