1. ทำให้ลูกเลือกข้างคนที่ตามใจ
เมื่อเกิดปัญหาขึ้นลูกจะเลือกเข้าหาคนที่ตามใจ ทำให้ลูกเลือกที่จะ
ไม่ฟังคนเข้มงวด ยิ่งสอนลูกย ากค่ะ
วิ ธีแก้ไข: พ่อแม่ต้องใช้วิ ธีการคุยเพื่อขอให้อีกฝ่ายไม่เข้ามาแทรกแซงระหว่างที่สอนลูก
ยกตัวอย่ างเช่น “ในช่วงที่แม่สอนลูก แม่ขอให้พ่อไม่เข้ามาแทรกแซงต่อหน้าลูก
ถ้าพ่อไม่ชอบใจตรงไหน ขอให้เก็บมาคุยกันตอนหลัง”
แต่หลีกเลี่ยงการพูดในลักษณะออกคำสั่งนะคะ
2. ทำให้ลูกสับสน
หากครอบครัวไหนคุณแม่เป็นคนเข้มงวด ไม่ตามใจ ส่วนคุณพ่อตามใจลูกทุ กอย่ าง
ลูกจะเกิดความสับสนว่าควรทำตัวอย่ างไร ต้องอดทนหรือควรงอแงเพื่อให้ได้สิ่งที่
ต้องการมาค่ะ
วิ ธีแก้ไข: พ่อแม่ควรพูดคุยและต กลงกันให้เป็นเสี ยงเดียวก่อนว่าจะฝึกสอนลูกแบบไหน
หากยังคิดเห็นไม่ตรงกันให้บอกกับลูกว่า “พ่อแม่ขอปรึกษากันก่อน แล้วจะให้คำตอบทีหลัง”
ดีกว่ามาทะเลาะหรือเถียงกันต่อหน้าลูกนะคะ
3. ทำให้ลูกดื้อและต่อต้าน
ส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างคุณพ่อคุณแม่และลูก ทำให้ลูกไม่เชื่อฟัง ดื้อ
และต่อต้านเพราะคุณพ่อคุณแม่สอนคนละแบบ
วิ ธีแก้ไข: คุณพ่อคุณแม่ควรหาบทสรุปการเลี้ยงลูก ก่อนที่ลูกจะไม่เชื่อฟังและต่อต้าน
อาจใช้วิ ธีเปิดโอกาสให้อีกฝ่ายเสนอแนวคิด และรับฟังด้วยท่าทางเปิดรับคุณพ่อคุณแม่
ลองนำไปปรับใช้ดูนะคะ หาเวลาคุยกันทั้งสองฝ่ายว่าเราจะเลี้ยงลูกแบบไหนกันดี
เพราะการเลี้ยงลูกคนละทางนอกจากจะทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างคุณพ่อคุณแม่และลูกเปลี่ยนไป
ยังส่งผลต่อลูกเราโดยตรงเปลี่ยนเพื่อลูก พ่อแม่ทำได้อยู่แล้วค่ะ
4. ทำให้ลูกควบคุมอ ารมณ์ตัวเองไม่ได้
หากลูกร้องไห้แล้วคุณพ่อตามใจ แต่คุณแม่ไม่ให้ ไม่ตามใจ ความรู้สึกของลูกเดี๋ยวได้เดี๋ยวไม่ได้
ส่งผลกับอ ารมณ์โดยตรง พอไม่ได้ดั่งใจลูกก็จะหงุดหงิด และอ ารมณ์แปรปรวนง่าย
วิ ธีแก้ไข: เลือกเวลาสบาย ๆ ของคุณพ่อคุณแม่พูดคุยเกี่ยวกับแนวทางการเลี้ยงลูกและตั้งเป้าหมาย
ไปที่ ‘การแก้ปัญหา’ ยกตัวอย่ างเช่น คุณแม่ควรพูดว่า
“วันนี้แม่อย ากคุยเรื่องวิ ธีควบคุมการใช้หน้าจอของลูก”แทนการพูดตำหนิอีกฝ่ายว่า
“พ่อให้ลูกดูการ์ตูนมากเกินไป ลูกจะสายตาเ สียและเรียกมากินข้าวย ากมาก ๆ
เพราะพ่อตามใจ”
ขอบคุณที่มา : lifein-hug