1. มีเงิ นสำรอง 6 เดือน อ ย่ า ง ต่ำ
มันจะช่วยให้เราสามารถ รับมือกับปัญหาด้านการเงิ นต่าง ๆ
ได้ดีโดยไม่ต้องยืมใคร หากคิดจะกู้ ก็อาจจะทำให้เรากลับ
เข้าไปอยู่ในวงจรห นี้ อีกครั้ง
2. สร้างงบ การเ งิน
แม้หาเ งินได้มาก หากบริหารเ งินไม่ดีพอ เงิ นที่ได้มา
ก็คงหมดไปง่าย ๆ นั่นแหละ ฉะนั้นแล้ว สิ่งที่เพื่อน ๆ
ต้องให้ความสนใจ คือ การสร้างงบรายจ่าย
เริ่มต้น จากงบการเ งิน 50 -30 -20 ดูสิ
(สิ่งจำเป็น, สิ่งอย ากได้, ออมฉุ กเฉิ น) สิ่งเหล่านี้มันอาจช่วยได้
3. ปลด ห นี้ ให้หมดไว ๆ
ยิ่งเร็วเราก็สามารถนำเ งินไป ทำอย่ างอื่นได้มากขึ้น
ถ้าไม่แน่ใจว่าจะปลดห นี้อย่ างไรจงดูว่าเรามีห นี้ทั้งหมดกี่ร าย
และเท่าไหร่อัตรา ด อ ก เบี้ ยแค่ไหน
ต่อไปก็ให้จัดลำดับห นี้ ให้ห นี้ที่มีอัตร า ด อ กเบี้ยสูง อยู่บน
ต่อไปก็ทยอยปลดห นี้จากก้อนนั้นก่อน แล้วค่อย ๆ ปิดก้อนอื่น ๆ ไป
4. รู้ตัวเองว่ามีอะไรมากกว่ากัน “ทรัพย์สิน” หรือ “ห นี้ สิน”
หากรายจ่ายสูงพอ ๆ กับรายรับ อย่ างแรกเลยที่ควรใส่ใจ
คือ ลิสต์รายการของทรัพย์สินนั้น เทียบกับห นี้สินที่มี
ถ้างงว่าเราก็มีสินทรัพย์เยอะเหมือนกันนี่
เช่น มือถือรุ่นใหม่ ๆ กล้องถ่ายรูป แต่เหตุใดยังจนอยู่ ง่าย ๆ
เลยครับ มือถือ จำนวน หนึ่ง ราค าประมาณ 25,000 – 30,000 ราคา
ข า ย ต่ อ มูลค่ ามันหายไป แทบจะครึ่งนึงแล้ว
เราต้องเริ่มกลับมา วางการเงิ นตัวเองได้แล้ว เช่น สะสมทรัพย์สิน
ที่ก่อให้เกิดร ายได้ อย่ างพวกหุ้ น กองทุ นไรงี้
5. รู้จักบริหารความ เ สี่ ย ง ให้เป็น
การที่มีสติมันช่วยให้เราผ่ านทุ กปัญหาได้ง่าย เรากำลังจะกล่าวถึง
เรื่องของความเสี่ ยงต่าง ๆ
ที่มันอาจเกิ ดขึ้นได้ ไม่ว่าคุณจะโส ด มีครอบครัวก็ตามนะ
ความเสี่ ยงที่ควรพิจารณา มี 3 อย่ าง ต่อไปนี้
– ด้านชีวิตของเรา
ถ้าเมื่อไหร่เราเจ็ บป่ วยหรือเกิดเห ตุไม่คาดคิดขึ้นมา
ครอบครัวจะต้องลำบ ากเพราะข าดกำลังสำคัญใช่มั้ย คำตอบคือใช่
ก็ลองบริหารความเสี่ ยง เช่น การซื้ อประกั น
– ด้านในการดำเนินชีวิต
ถ้าวันหนึ่งเพื่อน ๆ ขับรถแล้วเกิดอุ บั ติ เห ตุ มีประกั นภั ยรถยนต์มั้ย
แล้วจะซื้อมั้ย ถ้าซื้อจะเอาแบบไหนดีนะ?
– ด้านทรัพย์สิน
เพราะถ้าเราหยุดทำงาน มีความพร้อมรึยังถ้ายังไม่มีเ งินฉุ กเฉิ น
เราจะอยู่ยังไงล่ะ!
ขอบคุณที่มา : tamnanna