1. ให้เงิ นเป็นของขวัญ
เมื่อไหร่ที่ให้คนอื่นยืมเ งิน เราก็อย ากได้เงิ นคืนเต็มเม็ดเต็มหน่วย
ถ้าได้ด อกเบี้ยด้วยก็ดี บางครั้งถึงจะตัดสินใจไม่ให้ยืม
แต่ยังอย ากช่วยเหลือเรื่องเ งินเราก็อาจเลือกให้เงิ นเป็นของขวัญ
แทนก็ได้ เช่น ในช่วงวันเกิดเพื่อน
หรือเทศก าลพิเศษต่าง ๆ การทำแบบนี้นอกจากได้ให้เ งินเพื่อนแล้ว
เราเองก็สบายใจเพราะไม่จำเป็นต้องให้เงิ นก้อนเท่าที่ขอมา
และไม่ต้องห่วงเรื่องทวงห นี้ทีหลังด้วย
2. เสนอความช่วยเหลือรูปแบบอื่น
เมื่อตัดสินใจแล้วว่าไม่ให้ยืมเงิ นแน่ ๆ แต่ก็อย ากช่วยเหลือเพื่อนฝูงญาติ
พี่น้องที่เดื อดร้อนก็อาจเสนอวิ ธีช่วยเหลือแบบอื่น ๆ แทน เช่น
ถ้ามีความรู้เรื่องบริหารจัดการเ งินก็อาจช่วยดูต้นตอของปัญหาของคน ๆ นั้น
เพื่อแนะนำวิ ธีแก้ไข และช่วยให้พวกเค้าสามารถหาเ งินมาใช้ตามต้องการได้
หรือบางทีอาจชวนมากินข้าวที่บ้าน หรือแบ่งอาหารไปให้บ้าง
เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายค่าอาหารในบางวันก็ได้เหมือนกัน
3. อย่ าเปิดเผยการเงิ นส่วนตัว
มาถึงข้อสุดท้ายที่ควรทำอย่ างยิ่งถ้าไม่อย ากให้ใครมายืมเงิ นคือ
ไม่ควรจะเล่าเรื่องเงิ น ๆ ท อง ๆส่วนตัวให้เพื่อนหรือญาติพี่น้องฟัง
ถ้าใครถามว่าเ งินเดือนเท่าไหร่ มีเงิ นเก็บแค่ไหน ก็อาจบอกแค่ พอกินพอใช้
ไม่ต้องลงรายละเอียดมาก เพราะถ้าคนอื่นรู้ว่าเรามีเงิ นเหลือเก็บเหลือใช้
เวลาเค้าลำบากก็อาจมายืมเงิ นเราก็ได้ ซึ่งพอถึงตอนนั้น เราอาจปฏิเสธได้ย าก
หากใจไม่แข็งพอสุดท้ายแล้ว ไม่ว่าจะตัดสินใจทางไหน ให้ยืมหรือปฏิเสธ
ก็ต้องเลือกที่เราสบายใจที่สุดทั้งตอนให้ยืม
4. ขอเวลาตัดสินใจ
บางครั้งถ้าคนยืมเงิ นมากดดันเรามาก ๆ ยกส ารพัดเหตุผลความจำเป็นมาอ้าง
เพื่อขอยืมเงิ นจากเราตัวเราเองก็ไม่รู้จะปฏิเสธทันทียังไง
ก็ต้องซื้อเวลาไปซักนิดขอเวลาตัดสินใจซักหน่อย อาจจะให้คำตอบภายใน 1-2 วัน
และใช้เวลานั้นไปหาคำตอบดี ๆ มาปฏิเสธ
5. ตั้งกฎชัดไม่ให้ใครยืมเ งิน
ในเมื่อตัดสินใจชัดเจนแล้วก็ต้องประกาศชัด ๆ กันให้รู้ถ้วนหน้าว่าเราไม่ให้ใครยืมเงิ นเด็ดข าด
ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนรักหรือญาติสนิทแค่ไหนก็ตาม
และต้องไม่มีข้อยกเว้นในกรณีไหนหรือกับใครทั้งนั้นถ้ามีคนขอยืมเงิ นก็บอกไปตรง ๆ ว่า
นี่คือจุดยืนของเราและเรารู้สึกไม่สบายใจถ้าให้ใครยืมเ งิน
หรืออาจบอกไปเลยว่าไม่มีเงิ นให้ยืมจริง ๆ
ขอบคุณที่มา : forlifeth