1. เก็บเงิ นที่ได้รับคืนมา
เงิ นที่เราได้รับคืนมา เช่น เงิ นคืนเบี้ยประกัน เงิ นคืนภาษี เงิ นปันผล
กองทุน เงิ นคืนบัตรเครดิต(CashBack) ควรนำไปฝากบัญชีธนาคาร
อีกเล่มหรือถ้าด วงดีหน่อยก็อาจได้เงิ นถูกลอตเตอรี่
สลากออมทรัพย์เงิ นเหล่านี้ลองแยกไว้อีกบัญชีจะเห็นว่าได้เยอะกว่าที่คิด
2. เก็บเงิ นที่ได้จากส่วนลด
เวลาเราไปซื้อของเช่นซื้อของราคา 1,000 บาท จากปกติราคา 1,200 บาท
ก็ให้แบ่งเก็บเงิ น 200 บาทเอาไว้
3. ออมเงิ นตามวันที่
เริ่มจากวันที่ 1 ก็หยอดกระปุก 1 บาทวันที่ 30 ก็หยอด 30 บาท
พอขึ้นเดือนใหม่จะกลับไปเริ่ม 1 บาทใหม่ก็ได้ทำแบบนี้ให้ครบ
365 จะได้เงิ น 5 พันกว่าบาทเลย
4. หักเศษเงิ นเดือนมาเก็บไว้
เช่นเดือนนี้ได้ 15,900 ก็หัก 900 มาออมก่อนเลย
5. เก็บแบงก์ 500
หยอดกระปุกเหมาะสำหรับสายโ หดแต่ได้เงิ นออมเยอะมาก
6. ออมตามวัน
เหมือนกันกับออมตามวันที่แต่เริ่มจากวันที่ 1 ก็ 1 บาทบวกไปเรื่อย ๆ
จนถึงวันที่ 365 ก็หยอด 365 บาทช่วงเดือนแรก ๆ
อาจจะสบายแต่ไปหนักเอาช่วงสิ้นปีที่ต้องออมเงิ นเยอะขึ้นวิ ธีนี้
น่าจะเหมาะกับคนที่มีเ งินเหลือพอสมควรแต่ผลลัพธ์ที่ได้เชื่อไหม
ว่าพอครบปีจะมีเงิ นเก็บถึง 66,795 บาทเลย
7. ตั้งเป้าออมเพิ่มสัปดาห์ละ 10 บาท
เช่นสัปดาห์แรกของปีหยอดกระปุกไป 10 บาทสัปดาห์ต่อไปก็ต้องหยอดเพิ่ม
เป็น 20 บาท 30 บาทไปจนถึงสัปดาห์ที่ 52 ตอนสิ้นปีก็หยอดไป 520 บาท
เราจะมีเงิ นเก็บ 13,780 บาทหรือถ้าใครมีกำลังทำได้มากกว่านั้นจะออม
เพิ่มสัปดาห์ละ 20 บาท 50 บาท 100 บาท บวกไปเรื่อย ๆ ก็จะยิ่งเก็บเงิ นได้
เยอะขึ้นอีก
8. เก็บตามจำนวนรับประทานอาหารกลางวัน
เรารับประทานอาหารกลางวันไปกี่บาทก็กลับมาหยอดกระปุกเท่า
จำนวนที่จ่ายไปด้วยใครจะไปเชื่อว่าถ้าหยอดทุ กวันครบ 1 ปี
จะมีเงิ นเก็บเป็นหมื่น
9. แบ่งเ งินใช้ตามวัน
เช่น ตั้งเป้าจะใช้เงิ นไม่เกินวันละ 150 บาทก็แยกเงิ นออกมาไว้เลยหรือ
แบ่งเงิ น 150 บาทออกเป็น 30 ถุงสำหรับใช้ 1 เดือน
แล้วใช้แค่เท่าที่มีอาจมีเงิ นสำรองติ ดตัวไว้หน่อยเผื่อเหตุฉุ กเฉิน
ถ้าวันไหนเงิ นเหลือก็เอามาหยอดกระปุกเก็บออมเพิ่มได้อีก
10. เก็บแบงก์ร้อย
แบงก์ร้อยที่ลงท้ายด้วยเลขที่เราชอบ เช่น ถ้าเจอแบงก์ร้อยที่ลงท้าย
ด้วยเลข 9ก็ให้เก็บไว้หรือเราเกิดวันที่ 1 ถ้าเจอแบงก์ร้อยลงท้าย
ด้วยเลข 1 ก็หยอดกระปุกไป
11. เก็บเฉพาะแบงก์ห้าสิบ
เป็นวิ ธีออมเงิ นสุดแสนจะเบสิกแต่ได้ผลดีนักแล
12. เก็บแบงก์ใหม่
เจอแบงก์ใหม่ให้เก็บเวลาถอนออกมาจากตู้ ATM หรือได้เงิ นทอน
มาให้เก็บไว้เลยจะเก็บทุ กแบงก์หรือเก็บเฉพาะแบงก์ไหนเป็นพิเศษ
ก็แล้วแต่เรา
13. เก็บเศษเงิ นทอน
เงิ นทอนที่ได้มาให้นำไปหยอดกระปุกทุ กครั้งที่ใช้จ่ายอย่ าดูถู กพลัง
ของเศษเหรียญบาทเหรียญสองบาทเหรียญสลึงเชียว
14. เก็บเ งินตามเลขท้าย
เลขท้ายของจำนวนเงิ นที่ใช้ไป เช่น ใช้เงิ นซื้อของไป 599 บาท
เราก็ต้องเก็บเงิ น 99 บาท
15. เก็บแบงก์เลขสวย
แบงก์มีเลขตองไม่ว่าจะเป็นแบงก์อะไรก็ตามได้ลุ้นทุ กวันว่า
จะเจอแบงก์เลขสวยหรือเปล่า
ขอบคุณที่มา : create-readingth