Home ข้อคิด บริหาร เ งิ น อ ย่ า ง ไร หากมีรายจ่ายเยอะ

บริหาร เ งิ น อ ย่ า ง ไร หากมีรายจ่ายเยอะ

12 second read
ปิดความเห็น บน บริหาร เ งิ น อ ย่ า ง ไร หากมีรายจ่ายเยอะ
2
16,328

หลาย ๆ คน ต้องพบกับปัญหาที่ว่าทำงานได้เงิ นมาเท่าไหร่

ก็ต้องนำไปชำระห นี้สินจนหมด ทำให้ไม่สามารถออมเ งินได้

 

แต่จะมีกี่คนที่รู้ว่าถึงเรามีห นี้ เราก็ควรต้องแบ่งเ งินเก็บไว้ด้วย

เพราะผมพบตัวอย่ างคนใกล้ตัวที่มีห นี้ แต่ไม่วางแผนออมเงิ นไว้เลย

ลองอ่ านดูนะครับ…

 

วันหนึ่งลูกชายเพื่อนผมดันขี่มอเตอร์ไซค์ ไปชนท้ายรถราคาแพงคันนึง

โ ชคดีที่เจ้าของรถยนต์เขาเห็น บ าดเ จ็บหนักก็เลยไม่คิดจะเอาเรื่อง

แต่ก็ต้องเสี ยค่ารั กษาพย าบาลกับค่าซ่อมรถมอเตอร์ไซค์หมดเป็นหมื่น

เพื่อนผมเล่าไปก็ร้องไห้ไป

 

เพราะมันทุ กข์ใจว่าห นี้เก่ายังชำระไม่หมด ยังต้องกู้เงิ นเพิ่มมารั กษาลูกอีก

ทุ กวันนี้อย่ าได้คิดถึงการออมเ งินเลย เพราะไม่ว่าจะหาเ งินมาได้เท่าไหร่

ก็ต้องนำไปชำระห นี้หมด ชีวิตนี้เป็นห นี้ไม่จบไม่สิ้นสักที

และนั่นเป็นจุดเริ่มต้นทำให้ผมต้องเริ่มคิดใหม่!!

 

ผมเริ่มคิดว่าตัวเองมองอะไรพลาดไปหรือเปล่า นอกจากความรับผิดชอบในการใช้ห นี้

และสิ่งที่ผมพลาด คือ ลืมคิดถึงแผนสำรองเผื่อช่วงที่เกิดเหตุการณ์ ไม่คาดฝัน

เช่น การเกิดอุบั ติเหตุมันทำให้ผมรู้ว่าคนที่มีห นี้ อย่ างน้อยก็ต้องมีเงิ นออม

ที่เรียกว่า “เงิ นฉุ กเฉิน” เก็บไว้ด้วย

 

เพราะเงิ นก้อนนี้นั้นสำคัญกับชีวิตมากจริง ๆ มาถึงตรงนี้หลายคนคงคิดว่า

“คงเป็นไปไม่ได้หรอกที่จะสามารถมีเงิ นออมได้ ถ้าหากยังมีห นี้สินอยู่”

 

งั้นเรามาดูวิ ธีแบ่งเงิ นใช้ห นี้และมีเงิ นเก็บแบบง่าย ๆ กันดีกว่า

 

ซึ่งขั้นตอนแรกนั้น สามารถทำได้ง่าย ๆ เริ่มจากการเขียนบัญชีรายรับรายจ่ายเลยครับ!

เพราะสามารถทำให้ทุ กคนสามารถรู้ได้อย่ างแน่นอน

 

ว่าเ งินที่ได้มานั้น ใช้จ่ายไปในเรื่องใดบ้าง เมื่อถึงวันที่เ งินเดือนเข้าบัญชี

หรือขายของมีรายได้เข้ามา ก็แบ่งเงิ นเป็น 2 กอง คือ กองที่เก็บและกองที่ใช้

 

– กองที่เก็บ คือ เงิ นสดสำรองฉุ กเฉิน (จำนวนรายจ่าย ให้อยู่ได้อย่ างน้อย 1 – 3 เดือน)

 

– กองที่ใช้ คือ ใช้จ่ายห นี้สินและใช้จ่ายส่วนตัว

 

เทคนิคของผมง่ายนิดเดียวครับ แค่แบ่งเงิ นเก็บไว้ ก่อนใช้เสมอ ค่อย ๆ ออมเงิ น

จนกระทั่งครบตามจำนวนที่ตั้งไว้ เช่น ถ้าเรามีรายจ่ายเดือนละ 10,000 บาท

ดังนั้นเงิ นฉุ กเฉิน ต้องเตรียมไว้ คือ อย่ างน้อย 10,000 – 30,000 บาท

 

โดยเริ่มต้นแบ่งเ งินรายได้มาเก็บทุ กเดือน อาจจะเดือนละ 500 – 1,000 บาท

จำนวนที่เก็บขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคน แต่ผมอย ากบอกว่าจำนวนเงิ นที่เก็บ

ยังไม่สำคัญเท่าวินัยที่จะเก็บให้ได้ทุ กเดือน เพราะหากมีวินัย

เ งินเก็บก็จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนครบในที่สุดครับ

 

หลังจากแบ่งเงิ นเพื่อเก็บแล้ว ก็แบ่งเงิ นอีกส่วนมาชำระห นี้ ที่มีอย่ างสม่ำเสมอทุ กงวด

จะได้มีประวัติเป็นลูกห นี้ที่ดี สุดท้ายเหลือเ งินเท่าไหร่ก็ค่อยเอาใช้ส่วนตัวนะครับ

ผมเสริมเทคนิคอีกนิดครับ ผมลองเอาเงิ นส่วนที่เหลือนี้

มาหารจำนวนวันที่เหลือก่อนที่เ งินของเดือนใหม่จะเข้าบัญชี

 

ผมลองตั้งวงเ งินใช้จ่ายทั่วไป ให้ตัวเอง 200 บาทต่อวันเท่านั้น แต่ผมยังมีเ งินเหลือรายวันอีก

ถึงแม้จะเหลือไม่เยอะ แต่ผมก็ได้ฝึกวินัยและสามารถ ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟื่อยได้อย่ างมีสติครับ

 

ทำไมทุ กคนควรมีเงิ นออมหรือที่ผมเรียกว่าเงิ นสำรองฉุ กเฉิน?

เพราะหากวันใดวันหนึ่งเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น อาจจะบ าดเ จ็บ

จนไม่สามารถหารายได้ในแต่ละวันได้ เราก็ยังมีเ งินมาพอใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน

และเงิ นออมนั้นยิ่งมีมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งสามารถทำให้เราสบายใจได้มากขึ้น

 

เรื่องแบบนี้มันขึ้นอยู่กับความพอใจของแต่ละคน ซึ่งเงิ นฉุ กเฉินก้อนนี้

จะทำให้เรารอดพ้นวิกฤตของชีวิต และทำให้เราไม่เป็นห นี้ก้อนโตเพิ่มนั่นเองครับ

 

ขอบคุณที่มา : yindeeyindee

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …