Home ข้อคิด เมื่อลูกน้อง ไม่ยอมรับ จะแก้ปัญหา อ ย่ า ง ไร

เมื่อลูกน้อง ไม่ยอมรับ จะแก้ปัญหา อ ย่ า ง ไร

18 second read
ปิดความเห็น บน เมื่อลูกน้อง ไม่ยอมรับ จะแก้ปัญหา อ ย่ า ง ไร
0
423

Q: ผมเพึ่งเข้ารับงานใหม่ในตำแหน่งหัวหน้าระดับต้น ต้องคุมลูกน้อง 2-3 คน

แต่ปัญหาคือ ลูกน้องไม่ชอบหน้าผมเท่าไหร่ เพราะเหมือนผมเข้ามาแทนตำแหน่งที่เขาหมายตาไว้

 

อายุผมกับลูกน้องไม่ได้ต่างกันมาก เขาก็ไม่ค่อยเกรงใจ เวลามีปัญหาเกิดขึ้น

มักจะเข้าหาหัวหน้าที่ตำแหน่งสูงกว่าผมแทน

 

ซึ่งทำให้ดูเหมือนว่าผมคุมลูกน้องไม่ได้

ผมควรจะทำอย่ างไรกับสถานการณ์แบบนี้ดีครับ

 

A: ปัญหาแบบนี้เกิดขึ้นบ่อยจนกลายเป็นเรื่องธรรมดา

สาเหตุที่แท้จริง คือ ลูกน้องไม่ยอมรับหัวหน้าในฐานะหัวหน้า

 

1. เมื่อเข้าไปคุมทีมใหม่ ๆ อย่ า “กร่าง” (โอ้อ วด มีอัตตา) มากเกินไปจนคนอื่น ๆ หมั่ นไ ส้

ในขณะเดียวกันก็อย่ า “หงอ” (กลัว ดูไม่มั่นใจ) มากเกินไป

 

จนคนอื่น ๆ ข าดความมั่นใจ วางตัวธรรมดา อย่ าอ วดความเก่งมากเกินไปแต่ก็

อย่ าถ่อมตัวจนเกินไป เดินทางสายกลาง

 

2. เมื่อเริ่มต้นคุมทีม จงทำให้ลูกทีมรู้สึกว่า “ตั้งแต่หัวหน้าเข้ามา ชีวิตพวกผมง่ายขึ้น”

โดยการมองหาโอกาสที่จะช่วยเหลือสนับสนุน หรือแก้ปัญหาที่คาราคาซังมานานให้กับพวกเขา

 

ไม่ใช่เข้ามาปุ๊บก็เริ่มจัดระเบียบ กำหนดขั้นตอนการทำงานใหม่อย่ างรัดกุม เพิ่ม

ปริมาณของรายงานเพื่อให้แน่ใจว่าหัวหน้ารับรู้สถานการณ์ทุ กอย่ างและ สามารถควบคุม (Control)

 

ทีมงานได้อย่ างอยู่หมัด เพราะหากทำแบบนี้ตั้งแต่วันแรก ๆ ลูกทีมจะรู้สึกว่า “ตั้งแต่หัวหน้าเข้ามา

ชีวิตพวกผมเหนื่อยขึ้นหนักขึ้นเป็นเท่าทวี” เมื่อเป็นเช่นนี้ ก็ไม่ต้องแปลกใจ ทำไมจึงมีการต่อต้าน

 

3. ลูกน้องที่ทำงานมานานกว่าย่อมมีข้อสงสัยว่าเหตุใดคนที่มีอายุเท่ากัน ประสบการณ์เท่ากัน

แต่ทำงานในองค์กรมาน้อยกว่า จึงขึ้นมาเป็นหัวหน้าเขาได้ น้อยคนที่จะมองในแง่ดี

 

หลายคนตั้งป้อมแล้วว่า “นายเก่งมาจากไหน” จากนั้นพิธีการ “ลองของ” ก็จะค่อย ๆ เกิดขึ้น

เพื่อทดสอบฝีมือของหัวหน้าใหม่ ดังนั้นหากคุณมี ดีต้องเอาออกมาอ วดบ้ าง

 

ผมพูดกับหัวหน้าใหม่ที่มาจากภายนอกองค์กรเสมอ ๆ ว่า “คุณต้องรู้จักปล่อยของบ้ าง

ถ้ามีของที่จะปล่อย” หัวหน้าหลายคนที่มาใหม่จากภายนอกองค์กร “อมภูมิ” มากเกินไป

 

จนลูกน้องหรือคนที่ทำงานด้วยชักเริ่มรู้สึกไม่แน่ใจแล้วว่า “มีภูมิ” จริงหรือเปล่า

ในทางกลับกัน ก็ต้องหาจุดพอดีให้เจอ มี ดีต้องอ วดแต่ถ้าอ วดมากเกินไป

กลับกลายเป็น “อ วดดี” ก็ทำให้เสี ยได้อีก

 

4. ต้อง “ได้ใจ” ก่อน “ได้งาน” เมื่อเข้าไปใหม่ ๆ อย่ างน้อยในช่วง 1-2 เดือนแรก อย่ าเพิ่งเน้นเรื่องงาน

จงใช้เวลาส่วนใหญ่พูดคุย รับฟังและซื้ อใจลูกน้องให้ได้ก่อน สำหรับคนไทย

 

เรื่องนี้สำคัญมาก เชื่อผมว่าคุณไม่มีทางได้งาน หรือถ้าได้ก็ไม่ยั่งยืน หากคุณไม่ได้ใจ ดังนั้นใช้เวลา

กับคนให้มาก ๆ ในระยะแรก ๆ เมื่อตอบโจทย์เรื่องคนได้แล้ว เดี๋ยวคนเหล่านั้นจะช่วยคุณตอบโจทย์เรื่องงานเอง

 

5. คุยกับหัวหน้าของคุณบ่อย ๆ ในสถานการณ์อย่ างนี้ ไม่มีใครช่วยคุณได้ดีกว่าหัวหน้าโดยตรงของคุณ

โดยเฉพาะอย่ างยิ่ง หากอยู่ที่นี่มานาน เขาย่อมมีบารมีแ ก่กล้า สามารถกำราบลูกน้องของคุณได้แน่ ๆ

 

นอกจากนั้นการพูดคุยกับหัวหน้าบ่อย ๆ จะทำให้คุณรู้จักและเข้าใจสไตล์การทำงานของหัวหน้า

ต่อไปคิด ทำหรือตัดสินใจอะไรจะได้ไปในทิศทางเดียวกัน ไม่ขัดแย้งกัน

ซึ่งหากเป็นเช่นนี้เรื่อย ๆ ลูกน้องจะเริ่มเกรงใจเพราะไม่ว่าคุณพูดอะไร นายใหญ่ก็เห็นเหมือนคุณทุ กอย่ าง

 

6. จงให้ “เกียรติ” แต่อย่ าให้ “อภิสิทธิ์” คำสองคำนี้ คนไทยแยกไม่ค่อยออก เราใช้กันมั่วปะปนไปหมด

ตัวอย่ างเช่น หากเรายืนต่อคิวซื้ ออ า ห า รกลางวันอยู่ เจ้านายเดินมา เราอนุญาตให้ท่านแทรกแถวข้างหน้าเรา

 

เพราะคิดว่านั่นเป็นการให้เกียรติผู้ใหญ่ แต่หลายคนอาจรู้สึกว่าอันที่จริงเป็นการให้อภิสิทธิ์มากกว่า

“เกียรติกับอภิสิทธิ” แยกกันย าก เอาเป็นว่าในการทำงาน ให้เกียรติคืออย่ าเรียกเขามาหาให้เดินไปหาเขา

 

อย่ าว่าเขาต่อหน้าคนอื่นให้ตำหนิเป็นการส่วนตัว อย่ าสั่งงานเขาต่อหน้าคนอื่นให้สั่งเป็นการส่วนตัว เป็นต้น

แต่ต้องไม่ให้อภิสิทธิคือ กฎกติกาที่บังคับใช้ ต้องใช้กับทุ กคน

 

ไม่ควรเข้มงวดกับลูกน้องที่เด็ ก ๆ แต่ปล่อยปะละเลย ไม่พูดไม่เตื อน

สำหรับลูกน้องที่มีอาวุโสสูงกว่า เป็นต้น

 

ขอบคุณที่มา : jingjai999

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …