Home ข้อคิด คำที่พ่อแม่ ไม่ควรพูดกับลูก

คำที่พ่อแม่ ไม่ควรพูดกับลูก

22 second read
ปิดความเห็น บน คำที่พ่อแม่ ไม่ควรพูดกับลูก
0
394

1. พูดเปรียบเทียบหรือประชดประชัน

เช่น “ไม่เห็นน่ารักเหมือนน้องคนนั้นเลย” “ดูสิ ลูกคนอื่นเขายังทำได้เลย”

การที่คุณพ่อคุณแม่ใช้คำพูดในลักษณะนี้ เพราะอย ากผลักดันให้ลูกเกิด

ความพย าย ามในการทำสิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้น

 

หรือเพื่อให้ลูกพัฒนาตัวเองมากขึ้น แต่รู้มั้ยว่าคำพูดเหล่านี้กลับกลายเป็นการ

ทำร้ ายจิตใจและทำให้เด็ กรู้สึกว่าตัวเองด้ อยค่าไม่มีความสามารถ

 

ไม่เก่งหรือไม่ดีพอเท่ากับเด็ กคนอื่น กลายเป็นเด็ กที่ไม่กล้าแสดงออก

ข าดความมั่นใจ และอาจทำให้เด็ กมีนิสัยขี้อิ จฉา

 

สร้างความเกลี ยดชังให้กับคนที่เด็ กโดนเอาไปเปรียบเทียบโดยไม่รู้ตัว

ทำให้เด็ กลุกขึ้นมาต่อต้าน บางคนก็อาจแสดงออกด้วยความก้าวร้ าว รุ นแรง

 

และพย าย ามทำตัวเองให้อยู่ด้านตรงกันข้ามกับที่คุณพ่อคุณแม่ต้องการดังนั้น

คุณพ่อคุณแม่ควรทำความเข้าใจก่อนว่าลูกมีข้อดีอย่ างไร

 

หรือมีความชอบ ความถนัดด้านไหน จากนั้นก็พย าย ามส่งเสริม สนับสนุนในสิ่งที่

เขาทำ และควรแสดงความชื่นชมเพื่อให้เขาเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง

 

และพัฒนาศักยภาพของตัวเองไปในทางที่ถูกต้อง คุณพ่อคุณอาจจะเล่าว่าเด็ ก

คนอื่นหรือญาติพี่น้องในวัยเดียวกันมีความสามารถหรือมีข้อดีอย่ างไร

 

ในขณะเดียวกันก็ต้องบอกให้ลูกมั่นใจว่าตัวเองก็มีส่วนที่ดีหรือส่วนที่สามารถพัฒนา

ให้ดีขึ้นได้เช่นกัน เพื่อให้เด็ กมีความมั่นใจ

 

และเชื่อว่าคนทุ กคนสามารถพัฒนาได้ ไม่จำเป็นว่าเราจะต้องเก่งเหมือนใคร

แต่เราสามารถเก่งในแบบของเราได้

 

2. สั่งลูกไม่ให้ร้องไห้

การสั่งห้ามไม่ให้เด็ กร้องไห้ โดยเฉพาะเมื่อผู้ปกครองกำลังมีอ ารมณ์ด้วยแล้ว

จะทำให้เด็ กรู้สึกกลัวมากขึ้นและไม่สามารถหยุดร้อง

 

หรือจัดการกับอ ารมณ์ตัวเองได้ เพราะรู้สึกว่าคุณพ่อคุณแม่ไม่เข้าใจในสิ่งที่

เขากำลังเป็นทุ กข์อยู่สิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ควรจะทำคือ

 

ปล่อยให้เด็ กร้องไห้เพื่อระบายความอัดอั้นตันใจก่อน และค่อย ๆ บอกลูกให้เข้า

ใจว่า เวลาที่เราเสี ยใจเราสามารถแสดงออกได้ ซึ่งการร้องไห้

 

ก็ถือเป็นการแสดงออกรูปแบบหนึ่ง ถ้าลูกหยุดร้องและสงบแล้วเราค่อยมาคุย

กันว่าเกิดอะไรขึ้น เพื่อให้เ ด็กรู้ว่าคุณพ่อคุณแม่เป็นห่วง และกำลังช่วยให้เขา

เข้าใจและหาวิ ธีจัดการกับอ ารมณ์ของตัวเอง

 

3. ตวาดหรือพูดด้วยอ ารมณ์ เมื่อโมโห หรือข าดสติ

การพูดโดยใช้อ ารมณ์เวลาที่โมโหหรือข าดสติ อาจทำให้เ ด็กจดจำและนำไปลอก

เลียนแบบได้เพราะเด็ กจะซึมซับและคิดว่าการพูดไม่ดีเป็นสิ่งที่ทำได้ ดังนั้น

เวลาที่คุณพ่อคุณแม่โมโห

 

หรืออ ารมณ์ไม่ดี (ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นได้)ให้ลองหลับตา หายใจเข้าลึก ๆ

หายใจออกย าว ๆ พย าย ามทำจิตใจให้สงบและตั้งสติก่อนแล้วค่อยพูดกับลูก

 

พย าย ามพูดคุยหรืออธิบายด้วยเหตุผลหากเป็นเรื่องที่ต้องการให้เด็ กเข้าใจ

แต่ถ้าไม่ไหวจริง ๆก็เอาตัวเองออกไปจากสถานการณ์ตรงนั้นก่อน ค่อย ๆ

ใช้เวลาปรับอ ารมณ์ เมื่อคิดว่าตัวเองพร้อมก็ค่อยกลับมาพูดกับลูก

 

4. คำพูดขู่

เช่น “เดี๋ยวจะเอาไปทิ้ง” “เดี๋ยวไม่รักนะ” “อย่ าทำแบบนี้เดี๋ยวตำรวจมาจับหรือผ ีมาหลอก”

การขู่ที่มีเงื่อนไขของการไม่ได้รับความรักหรือการถูกทิ้ง จะทำให้เด็ ก

 

ไม่มั่นใจในตัวเอง เพราะไม่แน่ใจว่าเป็นที่รักของครอบครัวหรือไม่และทำให้เด็ กเกิด

ความหวาดระแวง กลายเป็นคนขี้กลัว นอกจากนี้

 

ยังเป็นการสร้างความเข้าใจผิดให้กับเด็ กอีกด้วยว่าการได้มาซึ่งความรักจะต้องมีเงื่อนไข

เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งอาจนำไปสู่การสูญเสี ยความนับถือในตัวเองและผู้อื่นได้การพูดขู่

เด็ กโดยไม่มีเหตุผล

 

จะทำให้เด็ กรู้สึกหวาดกลัวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และทำให้เด็ กไม่สามารถใช้ความคิด

และเหตุผลในการไตร่ตรองสิ่งต่าง ๆ ได้อย่ างถูกต้อง

 

ทำให้เกิดความเปราะบางทางด้านจิตใจ และเมื่อเด็ กเผชิญปัญหา เด็ กก็จะกลัว

และไม่สามารถหาทางแก้ปัญหาได้ด้วยตัวเอง

 

ดังนั้น คุณพ่อคุณแม่ควรพูดกับลูกด้วยเหตุผลที่สมจริง หรือสอนในสิ่งที่เขาทำได้และควรทำ

ที่สำคัญควรชื่นชมและแสดงความภาคภูมิใจ เมื่อลูก ๆ สามารถปฏิบัติตัวได้อย่ างถูกต้อง

 

5. คำสั่งห้ามต่าง ๆ เช่น “ไม่ อย่ า หยุด”

การพูดห้ามเด็ กบ่อย ๆ จะทำให้เด็ กข าดความมั่นใจที่จะทำสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเอง

เพราะกลัวที่จะทำผิดหรือทำแล้วไม่ถูกใจผู้อื่น

 

ทำให้เด็ กไม่กล้าคิดและไม่กล้าทดลองทำสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งอาจจะทำให้เขาเ สียโอกาส

ที่จะเรียนรู้ว่าตัวเองมีความสามารถด้านไหน

 

ชอบหรือไม่ชอบทำอะไร และทำอะไรได้ดี แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะพูด 3 คำนี้ไม่ได้เลย

คงต้องขึ้นอยู่กับสถานการณ์ด้วยเพราะถ้าอยู่ในสถานการณ์ที่อั นตราย

หรือไม่เหมาะสมก็สามารถพูดได้ที่สำคัญก็คือ

 

ควรมีการอธิบายให้เด็ กเข้าใจถึงเหตุผลว่าสิ่งนี้ทำไม่ได้เพราะอะไร หรือถ้าเป็น

สถานการณ์ปกติทั่วไปคุณพ่อคุณแม่ก็สามารถเปลี่ยนคำพูดจากการห้าม

เป็นการบอกสิ่งที่เด็ กควรทำให้ชัดเจน

 

เช่น “เดินจับมือแม่ไปด้วยกันนะคะ หนูจะได้ไม่หลง” แทนคำว่า “อย่ าวิ่งไปไหนนะ”

หรือ “เก็บของใส่กล่องเบา ๆ นะคะ” แทนคำว่า “อย่ าโยนของแรง ๆ สิ” เป็นต้น

 

6. พูดเชิงบังคับ เคี่ยวเข็ญ

เช่น “ทำไมไม่รับผิดชอบอะไรเลย” “ต้องพย าย ามให้มากกว่านี้สิ” “เทอมนี้เกรดต้องดีกว่านี้นะ”

การใช้คำพูดเชิงบังคับ เคี่ยวเข็ญ ส่งผลคล้ายกับการพูดเปรียบเทียบ นั่นคือ ทำให้เด็ ก

รู้สึกไม่มีคุณค่า ไม่กล้าแสดงออก

 

ทำให้เด็ กรู้สึกเครียด และกดดันตัวเองจนทำให้กลายเป็นคนมองโลกในแง่ร้ าย

ไม่ไว้ใจผู้อื่น หรือมุ่งสู่ความสำเร็จเพียงอย่ างเดียวโดยไม่สนใจคนรอบข้าง

 

และยังทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่ราบรื่น เพราะเด็ กอาจแสดงความก้าวร้า ว

รุ นแรง ต่อต้านผู้ปกครองและพย าย ามทำตัวเองให้อยู่ด้านตรงข้าม

 

กับคุณพ่อคุณแม่แนะนำว่าลองเปลี่ยนจากการบังคับมาเป็นให้กำลังใจลูกแทนจะดีกว่า

เพราะการให้กำลังใจเป็นการแสดงออกถึงความรักและความห่วงใย เด็ กเอง

ก็จะรับรู้ได้ถึงความหวังดีที่พ่อแม่มีให้

 

ซึ่งจะช่วยให้เด็ กมีความมุ่งมั่นและมั่นใจที่จะทำสิ่งต่าง ๆ มากขึ้น และยังเป็นการ

เสริมสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้ดีขึ้นด้วย

 

ขอบคุณที่มา : forlifeth

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …