Home ข้อคิด คุณสมบัติของ “หัวหน้ารู้งาน”

คุณสมบัติของ “หัวหน้ารู้งาน”

10 second read
ปิดความเห็น บน คุณสมบัติของ “หัวหน้ารู้งาน”
0
271

1. ไม่เดินตามใคร

กว่าที่ใครคนนึงจะก้าวขึ้นมาเป็นหัวหน้า หรือผู้นำองค์กรได้ ต้องผ่ านการ

สั่งสมความรู้มีไอดอลทางธุรกิจแต่การสั่งสมความรู้

 

จนก้าวไปถึงจุดที่ประสบความสำเร็จได้ไม่ใช่เกิดจากการเลียนแบบหรือเดิน

ตามแผนธุรกิจของใครแต่เป็นการนำความรู้มาประยุกต์

 

ใช้ให้เหมาะกับธุรกิจ หรือรูปองค์กรเพราะถ้าเราลอกเลียนแบบวิ ธีของคนอื่นมา

เมื่อเจอปัญหา เขาจะไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่ างถูกต้อง

 

2. ใช้เหตุผลมากกว่าอ ารมณ์

แม้ว่าคนส่วนใหญ่ที่ประสบความสำเร็จ จะมีความมั่นใจในแต่เองสูง

แต่หัวหน้าที่ดีและยอดเยี่ยมจะมีทั้งความมั่นใจใช้เหตุผลมากกว่าอ ารมณ์

 

อีโก้ไม่สูงมากเกินไปจนไม่ยอมฟังใครและไม่อายที่จะยอมรับกับลูกน้องว่า

ไม่มีความรู้ในเรื่องบางเรื่องก็แน่ละหัวหน้าไม่ใช่ Google นี่นา ที่ถามอะไร

ไปก็ตอบได้

 

3. ท้าทายตัวเองอยู่เสมอ

หัวหน้าที่ดีจะไม่หยุดอยู่กับที่ หรือยิ้มอยู่กับความสำเร็จเดิมเป็นเวลานาน

เพราะเมื่อเขาบรรลุงานตามแผนแล้ว ถือว่าความตื่นเต้นท้าทายได้สิ้นสุดลง

เขามักจะมองหาความท้าทายใหม่ ๆ เพื่อเรียนรู้และก้าวข้ามไปให้ได้

 

4. แก้ปัญหาที่ใหญ่ได้

คนที่มีความสามารถจริง ไม่ได้แก้ปัญหาได้ แค่เรื่องเล็ก ๆ เท่านั้น แต่ต้องแก้ปัญหาใหญ่ ๆ

ปัญหาระดับองค์กรได้ด้วยทั้งปัญหาลูกค้า การเ งิน บริหารจัดการองค์กร

ซึ่งหัวหน้ามักมีไอเดียดี ๆ หรือสามารถคิดนวัต กร รมในการแก้ปัญหาขึ้นมาได้

 

5. มีวิสัยทัศน์ที่สร้างแรงบันดาลใจให้ลูกน้องทำตามได้

ถ้าจะบอกว่าหัวหน้าคือ แบบอย่ างขององค์กร ก็คงไม่ผิด ดังนั้น ทั้งการกระทำ

และแนวคิดของหัวหน้าจึงเป็นสิ่งที่พนักงานดูเป็นแบบอย่ างการใฝ่รู้

 

มีวิสัยทัศน์ที่ดี ตั้งใจทำงาน มีน้ำใจ ฯลฯเป็นสิ่งที่จะทำให้ พนักงานค่อย ๆ

ซึมซับและนำไปปฏิบัติ ด้วยในที่สุด

 

6. เมื่อลูกน้องพูด หัวหน้าฟัง

ไม่ว่าจะเป็นเรื่องงาน ธุรกิจ เรื่องทั่วไปหรือเรื่องส่วนตัว หัวหน้าที่ดีจะพร้อมเปิดใจรับฟัง

เพราะความสำเร็จของผู้นำองค์กรขึ้นอยู่กับการเปิดมุมมองที่ใหม่

 

และแต กต่างการได้ฟังความคิดของพนักงานที่หลากหลายถือเป็นการลงทุนด้านเวลา

ที่คุ้มค่าและการช่วยลูกน้องแก้ไขปัญหา จะทำให้พวกเขารักและเคารพเรามากยิ่งขึ้น

 

7. สอนงานเป็น

การที่เราจะสอนงาน ลูกน้องได้ แปลว่าเราต้องรู้และเข้าใจ ในบริบทของงานเป็นอย่ างดี

ว่าต้องเริ่มต้นอย่ างไร ดำเนินการแบบไหนจึงจะได้ผลลัพธ์ออกมาเหมาะสมและทันเวลา

 

หัวหน้าบางคนไม่สอนงานลูกน้องหรือสอนงานลูกน้องไม่เป็นแถมให้ไปเรียนรู้

จากเพื่อนร่วมงานในออฟฟิศสุดท้ายเขาก็จะมองว่าคุณสอนงานไม่เป็น

หรือไม่รู้จักสละเวลาให้ลูกน้องเลย

 

ขอบคุณที่มา : sabailey

Load More In ข้อคิด
Comments are closed.

Check Also

คำกล่าวเปิดงาน ใช้บ่อย เก็บไว้ฝึกให้ พูดคล่อง ๆ

1. งานเลี้ยงส่ง เรียน ท่าน (ประธานจัดงาน) และแขกผู้มีเก … …